Page 127 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 127

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          107

                   ตารางที่ 66 ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2563

                          Treatment        Ear weight          Ear without        Husk and cob  Grain weight

                                             (kg/rai)      husk weight (kg/rai)     weight (kg/rai)   (kg/rai)
                     T1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง   1,459.01   a           1,311.71  a           321.93        1,137.09   a

                     T2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง  1,447.03   a            1,258.66  ab           305.98        1,141.05   a

                     T3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง  1,438.59   a                1,247.22   ab           306.80        1,131.79   a
                     T4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซัง
                         และปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน  1,377.31   b                1,206.90   b           339.20        1,038.11   b

                     F-test                         *                        *                ns             *
                     C.V. (%)                    2.08                    3.71                7.04         3.20


                            การศึกษาขนาดฝักข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์นครสวรรค์ 3 ที่ปลูกในปี 2563 พบว่าความยาวและความ

                   กว้างฝักไม่มีความแตกต่างทางสถิติ  โดยต ารับการทดลองที่  3  ไถพรวนดินและเผาตอซัง  มีความยาวฝักเฉลี่ย
                   สูงสุดที่ 17.37 เซนติเมตร ต ารับการทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง และต ารับการทดลองที่ 2 ไถพรวน
                   ดินสับกลบตอซัง มีความยาวฝักเฉลี่ยเท่ากันที่ 17.30 เซนติเมตร ต ารับการทดลองที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผา
                   ตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน มีความยาวฝักเฉลี่ยน้อยสุดที่ 16.78 เซนติเมตร  ส าหรับความกว้างฝักพบว่า

                   ต ารับการทดลองที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน มีความกว้างฝักเฉลี่ยสูงสุดที่ 4.4
                   เซนติเมตร ต ารับการทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง และต ารับการทดลองที่ 2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง
                   มีความกว้างฝักเฉลี่ยเท่ากันที่ 4.37 เซนติเมตร และต ารับการทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง มีความ

                   กว้างฝักเฉลี่ยน้อยสุดที่ 4.35 เซนติเมตร
                            เมื่อพิจารณาจ านวนแถวต่อฝัก พบว่ามีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญ  (p<0.5) โดยต ารับ

                   การทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง มีจ านวนแถวต่อฝักเฉลี่ยสูงสุดที่ 13.13 แถวต่อฝัก ต ารับการทดลอง
                   ที่ 2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง และต ารับการทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง มีจ านวนแถวต่อฝักเฉลี่ยที่
                   12.80 และ 12.60 แถวต่อฝัก ตามล าดับ ต ารับการทดลองที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโต

                   คลุมดิน มีจ านวนแถวต่อฝักเฉลี่ยน้อยสุดที่  12.17 แถวต่อฝัก ดังตารางที่ 32
                            เมื่อพิจารณาน้ าหนักเมล็ดต่อฝัก  พบว่ามีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง  (p<0.1)  โดย

                   ต ารับการทดลองที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน มีน้ าหนักเมล็ดต่อฝักเฉลี่ยสูงสุดที่
                   165.67 กรัม ต ารับทดลองที่ 2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง และต ารับการทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซังมี
                   น้ าหนักเมล็ดต่อฝักเฉลี่ยที่ 128.57 และ 125.87 กรัม ตามล าดับ ต ารับการทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอ

                   ซัง มีน้ าหนักเมล็ดเฉลี่ยต่อฝักน้อยสุด 110.23 กรัมต่อฝัก ดังตารางที่ 32

                            ไม่พบความแตกต่างทางสถิติของน้ าหนัก 100 เมล็ด โดยต ารับการทดลองที่ 2 ไถพรวนดินสับกลบ
                   ตอซัง มีน้ าหนัก 100 เมล็ดเฉลี่ยสูงสุดที่ 30.67 กรัม ต ารับการทดลองที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูก
                   ถั่วปิ่นโตคลุมดิน มีน้ าหนัก 100 เมล็ดเฉลี่ยที่ 27.67 กรัม ต ารับการทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง และ
                   ต ารับการทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง มีน้ าหนัก 100 เมล็ดเฉลี่ยเท่ากันที่ 27.00 กรัม ดังตารางที่ 67
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132