Page 132 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 132

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          112

                   5,225 และ 8,250 ตัน ตามล าดับ การเกิดจุดความร้อน พื้นที่ถูกเผาไหม้และการปลดปล่อยก๊าซ

                   คาร์บอนไดออกไซด์มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี
                          จากผลการศึกษาดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าพื้นที่ถูกเผาไหม้มีปริมาณธาตุอาหารเพิ่มขึ้น โดยอินทรียวัตถุ
                   และคาร์บอนเพิ่มขึ้น เนื่องจากการทับถมของเศษซากพืช ซากสัตว์ที่ยังไหม้ไม่หมดยังคงหลงเหลืออยู่
                   ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์เพิ่มขึ้นจากซากพืชที่ตายไปจากการเผาไหม้จะ

                   สะสมอยู่ในดิน ส่วนไนโตรเจนอยู่ในรูปก๊าซเป็นส่วนใหญ่ การเผาจึงมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก
                   5. การศึกษาผลกระทบจากเผาต่อซังและการไม่ไถพรวนดินเพื่อปลูกข้าวโพดเลี ยงสัตว์ต่อสมบัติดิน
                      การสูญเสียดิน สรุปผลการศึกษาได้ดังนี

                          5.1 การสูญเสียดิน
                          จากผลการทดลองทั้ง 3 ปี พบว่าต ารับการทดลองที่ 3 การไถพรวนและเผาตอซัง มีการสูญเสียดินสูง
                   ต ารับการทดลองที่ 2 การไถพรวนดินและสับกลบตอซัง จึงกล่าวการเผาตอซังก่อให้เกิดการสูญเสียดินที่สูง

                   กว่า และทั้งต ารับทดลองที่ 2 และ 3 ข้างต้น มีการสูญเสียดินสูงกว่าต ารับการทดลองที่ 1 และต ารับการ
                   ทดลองที่ 4 ที่ไม่มีการไถพรวนดิน จึงสรุปได้ว่าการไถพรวนดินมีผลท าให้เกิดการสูญเสียดินในอัตราที่สูงกว่า
                   การไม่ไถพรวน การเผาตอซังพืชส่งเสริมการสูญเสียดินมากกว่าการสับกลบตอซังพืชลงดิน เนื่องจากไม่มีสิ่งปก
                   คลุมดิน และการปลูกพืชคลุมดิน (ถั่วปิ่นโต) มีอัตราการสูญเสียดินต่ าที่สุด

                          5.2.องค์ประกอบผลผลิตและผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                          องค์ประกอบผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในการทดลองทั้ง 3 ปี พบว่าไม่มีความแตกต่างทางสถิติ

                   ของขนาดฝักข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทั้งความกว้างและความยาวฝัก นอกจากนี้ยังไม่พบความแตกต่างทางสถิติของ
                   จ านวนแถวต่อฝัก และน้ าหนักร้อยเมล็ด ในทุกต ารับการทดลอง ถึงแม้ต ารับการทดลองที่ 4 การไม่ไถพรวน
                   ดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน จะให้ขนาดฝัก จ านวนแถวต่อฝักและน้ าหนักร้อยเมล็ดน้อยที่สุดก็

                   ตาม ในส่วนของผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในการทดลองปีที่ 1 และ 2 นั้นพบว่าไม่มีความแตกต่างทางสถิติใน
                   ทุกต ารับการทดลองของน้ าหนักผลผลิตปลอกเปลือกและน้ าหนักเมล็ด ถึงแม้ว่าต ารับการทดลองที่ 4 การไม่
                   ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดินจะให้น้ าหนักปลอกเปลือกและน้ าหนักเมล็ดน้อยที่สุดก็ตาม
                   ในขณะที่การทดลองปีที่ 3 พบความแตกต่างทางสถิติของน้ าหนักผลผลิตปลอกเปลือกและน้ าหนักเมล็ดโดย
                   ต ารับการทดลองที่ 4 การไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดินให้น้ าหนักผลผลิตปลอกเปลือก

                   และน้ าหนักเมล็ดน้อยกว่าต ารับการทดลองอื่นๆอย่างมีนัยส าคัญ
                          5.3 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ

                          จากผลการทดลองในปีที่ 1 พบว่าต ารับที่ 2 การไถพรวนดินสับกลบตอซัง และต ารับการทดลองที่ 3
                   การไถพรวนดินและเผาตอซังและ มีต้นทุนการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สูงถึง 4,461 บาทต่อไร่ ทั้งนี้เนื่องจากมี
                   ค่าไถเตรียมดิน ต ารับการทดลองที่ 4 การไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน มีต้นทุนการ

                   ผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ 4,015 บาทต่อไร่ เนื่องจากมีค่าพันธุ์ถั่วปิ่นโตที่ใช้ปลูกคลุมดิน และต ารับการทดลอง
                   ที่ 1 การไม่ไถพรวนและเผาตอซังซึ่งเป็นวิธีที่นิยมของเกษตรกรในปัจจุบันมีต้นทุนมีต้นทุนการผลิตข้าวโพด
                   เลี้ยงสัตว์ต่ าสุดที่ 3,815 บาทต่อไร่ แต่ส าหรับการทดลองในปีที่ 2 และ 3 นั้นต ารับการทดลองที่ 4 จะมีต้นทุน
                   การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เท่ากับต ารับการทดลองที่ 1 เนื่องจากไม่มีค่าพันธุ์ถั่วปิ่นโตเพราะถั่วปิ่นโตสามารถ

                   เติบโตได้เมื่อเข้าสู่ฤดูฝนอีกครั้ง แต่อย่างไรก็ตาม ในทุกต ารับการทดลองมีต้นทุนการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ต่ า
                   กว่าต้นทุนของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรค านวณไว้ที่ 4,470 บาทต่อไร่ ส าหรับรายได้ และก าไรสุทธิจาก
                   การผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พบว่าต ารับการทดลองที่ 1 การไม่ไถพรวนและเผาตอซังให้รายได้ และก าไรสุทธิ
                   สูงที่สุดในทุกปีที่ท าการทดลอง โดยต ารับการทดลองที่ 1 การไม่ไถพรวนและเผาตอให้รายได้สูงสุดอยู่ในช่วง

                   8,837 – 10,284 บาทต่อไร่ และให้ก าไรสุทธิสูงสุดอยู่ในช่วง 5,021- 6,468 บาทต่อไร่ และต ารับที่ 4 การไม่
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137