Page 32 - การจัดทำค่ามาตรฐานของมหธาตุสำหรับแปลผลวิเคราะห์ดินและพืชในขมิ้นชัน Standard Values of Macronutrient Elements for Soil and Plant Analysis in Turmeric (Curcuma longa L.)
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          22
























































                   ภาพที่ 8 ปริมาณไนโตรเจน (a) ฟอสฟอรัส (b) โพแทสเซียม (c) แคลเซียม (d) แมกนีเซียม (e) และก ามะถัน

                   (f) ในใบขมิ้นชัน


                          2.2 สถานะธาตุอาหารในเหง้าขมิ้นชัน

                                 ผลวิเคราะห์ธาตุอาหารในเหง้าขมิ้นชัน อันแสดงถึงความเข้มข้นธาตุอาหารที่ถูกน าไปใช้

                   สร้างผลผลิต และสูญเสียออกจากพื้นที่ พบว่า เหง้าขมิ้นชันมีการสะสมไนโตรเจน ประมาณ 56 เปอร์เซ็นต์
                   ของความเข้มข้นในใบ มีค่ากลาง 14.00 กรัมต่อกิโลกรัม ความเข้มข้นครอบคลุมอยู่ในช่วง 4.50-22.80 กรัม

                   ต่อกิโลกรัม ฟอสฟอรัสมีค่ากลาง 2.40 กรัมต่อกิโลกรัม มีความผันแปรอยู่ในช่วง 0.90-5.50 กรัมต่อกิโลกรัม

                   หรือมีการสะสมในเหง้าประมาณ 96 เปอร์เซ็นต์ ของความเข้มข้นในใบ ส่วนความเข้มข้นโดยรวมของ
                   โพแทสเซียมสูงกว่าไนโตรเจน สอดคล้องกับความเข้มข้นในใบ มีค่ากลาง 21.04 กรัมต่อกิโลกรัม หรือเทียบได้

                   กับ 59 เปอร์เซ็นต์ ของความเข้มข้นในใบ และมีค่ากระจายอยู่ในช่วง 10.50-35.50 กรัมต่อกิโลกรัม
                   นอกจากนี้ พบว่า แคลเซียมมีการสะสมในเหง้าประมาณ 22 เปอร์เซ็นต์ ของความเข้มข้นในใบ มีค่ากลาง

                   2.00 กรัมต่อกิโลกรัม การกระจายของความเข้มข้นมีความผันแปรสูงเช่นเดียวกับความเข้มข้นในใบ อยู่ในช่วง
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37