Page 28 - การจัดทำค่ามาตรฐานของมหธาตุสำหรับแปลผลวิเคราะห์ดินและพืชในขมิ้นชัน Standard Values of Macronutrient Elements for Soil and Plant Analysis in Turmeric (Curcuma longa L.)
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          18

                          1.3 วัสดุอื่นๆ

                              1) ถุงพลาสติกส าหรับเก็บตัวอย่างดิน
                              2) ถุงกระดาษส าหรับเก็บตัวอย่างพืช

                              3) กรรไกร

                              4) อุปกรณ์เก็บตัวอย่างดิน (จอบ พลั่วสนาม ออร์เกอร์)


                   2. วิธีด าเนินการวิจัย

                          2.1 การเก็บตัวอย่างดิน และพืช
                                 เก็บตัวอย่างดิน ใบ และเหง้าขมิ้นชันจากแปลงของเกษตรกร จ านวน 105 แปลง บริเวณ

                   พื้นที่ปลูกจังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช กาญจนบุรี เลือกเก็บครอบคลุมพื้นที่ ทั้งบริเวณที่ใส่ปุ๋ย และ
                   ไม่ใส่ปุ๋ย หรือบริเวณที่ให้ผลผลิตดี ปานกลาง และผลผลิตต่ า พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลผลผลิตของแต่ละพื้นที่

                   เก็บตัวอย่างดินที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร ในแต่ละแปลงสุ่มเก็บตัวอย่าง เพื่อเป็นตัวแทนของพื้นที่

                   จากนั้นน ามาคลุกเคล้าผสมกัน รวมเป็น 1 ตัวอย่าง ส าหรับใบขมิ้นชันเก็บจากพื้นที่เก็บตัวอย่างดิน สุ่มเก็บ
                   ตัวอย่างแปลงละ 10-12 ใบ ในช่วงกลางฤดูปลูกก่อนระยะเหง้าขยายตัว หรือช่วงที่ขมิ้นชันมีอายุประมาณ

                   5-6 เดือน โดยเลือกเก็บใบที่ขยายตัวเต็มที่แต่ยังไม่แก่ ดัดแปลงจาก (สุมิตรา และคณะ, 2545ก) ส่วนเหง้า
                   ขมิ้นชันเลือกเก็บตัวอย่างในระยะเก็บเกี่ยวผลลิต สุ่มเก็บตัวอย่างเพื่อเป็นตัวแทนของพื้นที่ อย่างน้อยแปลงละ

                   4 กอ น ามาคลุกเคล้าผสมกัน จากนั้นสุ่มตัวอย่างมาประมาณ 500 กรัม ส าหรับน าส่งห้องปฏิบัติการ

                          2.2 การวิเคราะห์ดินและพืช

                          1) การวิเคราะห์ดิน

                                 น าตัวอย่างดินมาอบที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 สัปดาห์ จากนั้นจึงบดและ
                   ร่อนผ่านตะแกรงขนาดช่องเปิด 2 มิลลิเมตร (ISO 11464, 2006) น าตัวอย่างที่ได้มาวิเคราะห์ค่าพีเอช (pH)

                   (ISO 10390, 2005) รวมถึงปริมาณอินทรียวัตถุ (organic matter) ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (available

                   phosphorus) ปริมาณโพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และก ามะถันที่สกัดได้ (extractable
                   potassium, calcium, magnesium and sulfur) ตามคู่มือวิเคราะห์ดิน (Jones, 2001) และหาขนาด

                   อนุภาคเนื้อดินด้วยวิธีไฮโดรมิเตอร์ (hydrometer method) (Bouyoucos, 1927)

                          2) การวิเคราะห์พืช
                                 น าตัวอย่างใบมาเช็ดท าความสะอาดด้วยผ้าสะอาดที่ผ่านการชุบน้ าพอหมาด ๆ ตัดเป็นชิ้น

                   เล็ก ๆ ส่วนเหง้าขมิ้นชันล้างท าความสะอาดเอาดินออก หั่นตัวอย่างเป็นชิ้นบาง ๆ แยกเหง้าขมิ้นชันออกเป็น
                   2 ส่วน ๆ หนึ่ง น าไปชั่งน้ าหนักสด จากนั้นน าไปอบที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส จนน้ าหนักคงที่ ค านวณหา

                   น้ าหนักแห้ง (ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547ก) ส่วนเหง้าขมิ้นชันอีกส่วน รวมถึงตัวอย่างใบ

                   น าไปอบที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 36 ชั่วโมง จากนั้นจึงบดและร่อนผ่านตะแกรงขนาด 60 เมช
                   ส าหรับใช้วิเคราะห์หาปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และก ามะถัน

                   ทั้งหมด   (total nitrogen, phosphorus, potassium, calcium, magnesium and sulfur) ตามคู่มือ
                   วิเคราะห์พืช (Jones, 2001) น าตัวอย่างเหง้าอีกส่วนมาหาปริมาณเคอร์คูมินอยด์ ดัดแปลงจากวิธีการของ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33