Page 34 - การจัดทำค่ามาตรฐานของมหธาตุสำหรับแปลผลวิเคราะห์ดินและพืชในขมิ้นชัน Standard Values of Macronutrient Elements for Soil and Plant Analysis in Turmeric (Curcuma longa L.)
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          24

                          2.3 ผลผลิตและคุณภาพขมิ้นชัน

                                 ผลการประเมินปริมาณผลผลิตจากพื้นที่เก็บข้อมูล พบว่า ปริมาณผลผลิตน้ าหนักสด และ
                   น้ าหนักแห้งของเหง้าขมิ้นชัน มีค่ากลาง 2,623 และ 476 กิโลกรัมต่อไร่ มีความผันแปรอยู่ในช่วง

                   414-13,047 และ 69-2,847 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ ส่วนผลวิเคราะห์ความเข้มข้นเคอร์คูมินอยด์ในเหง้า

                   ขมิ้นชัน อันแสดงถึงคุณภาพของผลผลิต พบว่า ความเข้มข้นเคอร์คูมินอยด์มีค่ากลาง 8.23 เปอร์เซ็นต์ ความ
                   เข้มข้นกระจายอยู่ในช่วง 1.74-15.30 เปอร์เซ็นต์ และเมื่อประเมินปริมาณเคอร์คูมินอยด์ที่จะได้รับต่อหน่วย

                   พื้นที่ พบว่า มีค่ากลาง 33 กิโลกรัมต่อไร่ ปริมาณเคอร์คูมินอยด์มีความผันแปรอยู่ในช่วง 2-231 กิโลกรัมต่อ

                   ไร่ (ภาพที่ 10)








































                   ภาพที่ 10 ปริมาณผลผลิตขมิ้นชัน ได้แก่ ผลผลิตน้ าหนักสด (a) ผลผลิตน้ าหนักแห้ง (b) และคุณภาพผลผลิต

                   ได้แก่ ความเข้มข้นเคอร์คูมินอยด์ (c) และปริมาณเคอร์คูมินอยด์ที่ได้ต่อหน่วยพื้นที่ (d)


                   3. ค่ามาตรฐานสมบัติดินส าหรับขมิ้นชันเบื้องต้น

                          จากการหาความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของดินกับผลผลิตเคอร์คูมินอยด์ในเหง้าขมิ้นชันเมื่อพิจารณา
                   จากผลผลิตสัมพัทธ์ในช่วง 80-100 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้วิธีเส้นขอบเขต (ภาพที่ 11-12) ท าให้สามารถค านวณ

                   ค่ามาตรฐานของสมบัติดินที่อยู่ในช่วงเพียงพอส าหรับขมิ้นชันเบื้องต้นได้ พบว่า อนุภาคขนาดทราย ทรายแป้ง
                   และดินเหนียว ควรอยู่ในช่วง 24.26-31.13, 27.60-35.11 และ 19.70-31.63 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ในขณะ

                   ที่ พีเอช และอินทรียวัตถุ ควรอยู่ในช่วง 5.8-6.4 และ 31.54-39.43 กรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ นอกจากนี้

                   ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และก ามะถันที่สกัดได้ ควรอยู่ในช่วง
                   16.30-29.78, 167-247, 1,315-1,842, 169-228 และ 4.30-7.69 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39