Page 16 - การวิจัยทดสอบและเก็บข้อมูลด้านวิชาการพัฒนาที่ดินในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินของมูลนิธิชัยพัฒนาบ้านเกริ่นกระถิน
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                                                                                                       14


                              1.6 พันธุ์หญ้าแฝกที่เหมาะสมกับเนื้อดิน

                              การเลือกพันธุ์หญ้าแฝกที่ เหมาะสมจะทำให้หญ้าแฝกมีการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้
                       เร็ว เช่น มีลักษณะของความทนทานต่อความแห้งแล้ง กอมีขนาดใหญ่ แตกกออย่างหนาแน่น ใน

                       กรณีที่ในพื้นที่ปลูกมีการจัดการดี มีแหล่งน้ำเพียงพอและดินมีความอุดมสมบูรณ์ การนําหญ้าแฝกไป
                       ปลูกจะประสบความสำเร็จได้ง่าย

                                     1.6.1 พื้นที่ดินทราย

                                            1) หญ้าแฝกดอน 4 กลุ่มพันธุ์ คือ นครสวรรค์, กำแพงเพชร 1, ร้อยเอ็ด และ
                       ราชบุรี

                                            2) หญ้าแฝกหอม 2 กลุ่มพันธุ์ คือ กำแพงเพชร 2 และสงขลา 3


                                     16.2 พื้นที่ดินร่วน - เหนียว

                                            1) หญ้าแฝกดอน 5 กลุ่มพันธุ์ คือ เลย, นครสวรรค์, กำแพงเพชร 1, ราชบุรี และ
                       ประจวบคีรีขันธ์

                                            2) หญ้าแฝกหอม 2 กลุ่มพันธุ์ คือ สุราษฎร์ธานี และสงขลา 3
                                     16.3 พื้นที่ดินลูกรัง

                                            1) หญ้าแฝกดอน 2 กลุ่มพันธุ์ คือ เลย และประจวบคีรีขันธ์

                                            2) หญ้าแฝกหอม 4 กลุ่มพันธุ์ คือ ศรีลังกา, กำแพงเพชร 2, สุราษฎร์ธานี และ
                       สงขลา 3

                              1.7 พันธุ์หญ้าแฝกที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่

                              กรมพัฒนาที่ดินได้นําหญ้าแฝกทั้ง 10 พันธุ์ ไปทดลองขยายพันธุ์ในภาคต่างๆ ทั่วประเทศ ได้
                       ข้อสรุปกลุ่มพันธุ์ที่เหมาะสำหรับภาคต่าง ๆ มีดังต่อไปนี้

                                     17.1 ภาคเหนือ กลุ่มพันธุ์ที่เหมาะสมคือ ศรีลังกา นครสวรรค์ กำแพงเพชร 1 และ
                       กำแพงเพชร 1

                                     17.2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มพันธุ์ที่เหมาะสมคือ ร้อยเอ็ด สงขลา 3 และ

                       ประจวบคีรีขันธ์
                                     17.3 ภาคกลางและภาคตะวันออก กลุ่มพันธุ์ที่เหมาะสมคือ ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สุ

                       ราษฎร์ธานี และสงขลา 3

                                     17.4 ภาคใต้ กลุ่มพันธุ์ที่เหมาะสมคือ สงขลา 3 และสุราษฎร์ธานี
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21