Page 22 - ผลของการจัดการธาตุอาหารพืชในดินต่อผลผลิตและคุณภาพของอ้อยที่ปลูกในดินด่าง Effects of plant nutrient management in calcareous soilon sugar cane yield and quality.
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน











                       ตารางที่ 2  ผลผลิตและองค์ประกอบของผลผลิตอ้อยปีที่ 1 (อ้อยปลูก)

                           ตำรับ           ผลผลิต             ความยาวลำอ้อย           ความหวานอ้อย
                        การทดลอง        (กิโลกรัมต่อไร่)        (เซนติเมตร)            (องศาบริกซ์)

                                                 c
                            1              16,000                   177                     12
                                                                                              b
                                                 b
                                                                                              a
                            2              20,525                   198                     15
                            3              25,088                   197                    14
                                                                                              ab
                                                 a
                                                                                              a
                                                 a
                            4              24,825                   190                     15
                                                                                              a
                                                 b
                            5              20,575                   192                     15
                          F-test             **                     ns                      **
                          C.V. (%)          7.79                   11.26                   8.35

                       หมายเหตุ  ns ไม่แตกต่างกันทางสถิติ  ** แตกต่างกันทางสถิติที่ p <0.01

                                  ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่แตกต่างกันแสดงถึงความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ
                                  ความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)



                              2.2 ผลผลิตและองค์ประกอบของผลผลิตอ้อยปีที่ 2 (อ้อยตอหนึ่ง)
                                     2.2.1 ผลผลิตอ้อย

                                     จากการปลูกอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 ตามวิธีการทดลอง เก็บเกี่ยวผลผลิตอ้อยตอหนึ่ง
                       (ปีที่ 2) และนำมาเปรียบเทียบ พบว่า ผลผลิตอ้อยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยยิ่งสำคัญทางสถิติ

                       โดย ตำรับการทดลองที่ 3 การใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (ห้องปฏิบัติการ) ร่วมกับกำมะถันผง
                       อัตรา 150 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตสูงที่สุด 17,105 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมา ตำรับการทดลองที่ 5 4

                       2 และท้ายสุดตำรับการทดลองที่ 1 โดยให้ผลผลิตเท่ากับ 215,292  13,452  12,933  และ 8,320

                       กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ แสดงดังตารางที่ 3
                                     2.2.2 ความยาวลำอ้อย

                                     จากการปลูกอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 และทำการวัดความยาวลำอ้อยในวันเก็บเกี่ยว

                       พบว่า ความยาวลำอ้อยเฉลี่ยไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดย ตำรับการทดลองที่
                       5 ใส่ปุ๋ยเคมีตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตรร่วมกับกำมะถันผง อัตรา 150 กิโลกรัมต่อไร่ มี

                       ความยาวลำอ้อยเฉลี่ยมากที่สุด เท่ากับ 225 เซนติเมตร รองลงมาตำรับการทดลองที่ 3  2  4 และ
                       ท้ายสุดตำรับการทดลองที่ 1 โดยมีความยาวลำอ้อยเฉลี่ยเท่ากับ 222 209 201 และ 184 เซนติเมตร

                       ตามลำดับ แสดงดังตารางที่ 3
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27