Page 25 - ผลของการจัดการธาตุอาหารพืชในดินต่อผลผลิตและคุณภาพของอ้อยที่ปลูกในดินด่าง Effects of plant nutrient management in calcareous soilon sugar cane yield and quality.
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                                                                                                       23


                       กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตรวม 3 ปีมากที่สุด 54,733 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมา ตำรับการทดลองที่ 4 5

                       2 และท้ายสุดตำรับการทดลองที่ 1 โดยให้ผลผลิตเท่ากับ 49,163  46,208  44,295 และ 31,615
                       กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ แสดงดังตารางที่ 4

                                     2.4.2 ผลผลิตอ้อยเฉลี่ย 3 ปี
                                     จากการศึกษาเปรียบเทียบผลผลิตเฉลี่ยอ้อย 3 ปี พบว่า ผลผลิตอ้อยมีความ

                       แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ โดย ตำรับการทดลองที่ 3 การใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน

                       (ห้องปฏิบัติการ) ร่วมกับกำมะถันผง อัตรา 150 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 3 ปีมากที่สุด 17,104
                       กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมา ตำรับการทดลองที่ 4 5 2 และท้ายสุดตำรับการทดลองที่ 1 โดยให้ผลผลิต

                       เท่ากับ 15,364  14,440 13,842 และ 9,880 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ แสดงดังตารางที่ 4

                       ตารางที่ 4  ผลผลิตเฉลี่ย 3 ปี

                               ตำรับ              ผลผลิตรวม 3 ปี                 ผลผลิตเฉลี่ย 3 ปี
                            การทดลอง               (กิโลกรัมต่อไร่)               (กิโลกรัมต่อไร่)

                                                            c
                                                                                          C
                                1                     31,615                         9,880
                                                                                           b
                                2                    44,295                          13,842
                                                            b
                                                                                           a
                                                            a
                                3                    54,733                          17,104
                                                            b
                                                                                           b
                                4                    49,163                          15,364
                                                            b
                                                                                           b
                                5                    46,208                          14,440
                              F-test                    **                             **
                             C.V. (%)                  7.29                           7.29

                       หมายเหตุ  ** แตกต่างกันทางสถิติที่ p <0.01
                                  ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่แตกต่างกันแสดงถึงความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ

                                  ความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)


                       3. ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ

                              จากการศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจในแปลงทดลองการปลูกอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 ใน
                       พื้นที่ทดลอง ในพื้นที่บ้านเขาดิน หมู่ 4 ตำบลหนองหลวง อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งดิน

                       เป็นดินด่าง พบว่า
                              3.1 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของอ้อยปีที่ 1 (อ้อยปลูก)

                              ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของการปลูกอ้อยขอนแก่น 3 ซึ่งเป็นค่าแรงงานได้แก่ ค่าเตรียมดิน

                       (ไถดะ ไถแปร ยกร่อง) ค่าดูแลรักษา ค่าปลูกอ้อย ค่าเก็บเกี่ยว และค่าแรงขนขึ้นรถ-ลงรถ ค่าวัสดุ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30