Page 35 - ผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปูนโดโลไมท์ต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน้ำมันในพื้น ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง Effect of using organic fertilizer together with dolomite for growth on oil plam in acid sulfate soil at Phattalung province
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                      ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Avail.K)
                               ตํารับ                                 (mg/kg)
                                         กอนการทดลอง         ปที่ 1          ปที่ 2          ปที่ 3
                                T7           77.00            74.99            89.00           149.33

                                T8           81.33            78.31            92.33           85.89
                                T9           80.00            82.67           103.00           93.87
                           Average           81.30            81.18            98.41           105.23
                           F-test              ns              ns               ns               ns
                           CV.(%)            28.99            25.64            27.58           28.67
                      หมายเหตุ: ns  ไมมีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต

                                    2.5  ปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได (Exch. Ca) ผลวิเคราะหตัวอยางดินกอนการ
                      ทดลอง พบวา ปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนไดทุกตํารับมีคาไมแตกตางกันทางสถิติ โดยดินมีปริมาณ
                      แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนไดอยูในระดับต่ํามาก (Very low) มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.31 เซนติโมลตอกิโลกรัม หลังจาก
                      ดําเนินการทดลองในปที่ 1 พบวา ปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนไดทุกตํารับมีคาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ
                      ยิ่งทางสถิติ กลาวคือ ตํารับที่ไมมีการใสโดโลไมท ไดแก ตํารับที่ 1 การใสปุยตามวิธีเกษตรกร ตํารับที่ 2 การใส

                      ปุยเคมีตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และตํารับที่ 3 การใสปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน ปริมาณ
                      แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนไดมีคาใกลเคียงกับตัวอยางดินกอนการทดลอง มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.30, 0.32 และ 0.32
                      เซนติโมลตอกิโลกรัม ตามลําดับ สวนตํารับที่มีการใสโดโลไมทเพื่อปรับสภาพดินรวมดวย จะมีปริมาณ
                      แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนไดเพิ่มขึ้นทุกตํารับ กลาวคือ ตํารับที่ 4 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR)
                      รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยชีวภาพ พด.12 มีปริมาณ
                      แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนไดสูงที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.34 เซนติโมลตอกิโลกรัม รองลงมาคือ ตํารับที่ 9 การใส
                      โดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสมูลไกแกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2 และปุยอินทรียที่ขยาย
                      เชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 ตํารับที่ 5 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมี

                      อัตราครึ่งหนึ่งตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9
                      และตํารับที่ 8 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสมูลไกแกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2
                      และปุยชีวภาพ พด.12 มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.98, 0.90 และ 0.86 เซนติโมลตอกิโลกรัม ตามลําดับ หลังการ
                      ทดลองปที่ 2 พบวา ปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนไดมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในทุกตํารับที่มีการใชโดโลไมทในการ
                      ปรับสภาพดิน ซึ่งมีคาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ  กลาวคือ ตํารับที่ 4 การใสโดโลไมทตามคา
                      ความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุย
                      ชีวภาพ พด.12 มีปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนไดสูงที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.37 เซนติโมลตอกิโลกรัม

                      รองลงมาคือ ตํารับที่ 9 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสมูลไกแกลบ น้ําหมัก
                      ชีวภาพ พด.2 และปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 ตํารับที่ 5 การใสโดโลไมทตามคาความ
                      ตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยอินทรียที่
                      ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 และตํารับที่ 8 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการ
                      ใสมูลไกแกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2 และปุยชีวภาพ พด.12 มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.64, 1.44 และ 1.42 เซนติโมล
                      ตอกิโลกรัม ตามลําดับ  เชนเดียวกับหลังการทดลองปที่ 3 พบวา ปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนไดมีแนวโนม
                      เพิ่มขึ้นในทุกตํารับที่มีการใชโดโลไมทในการปรับสภาพดิน ซึ่งมีคาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ
                      กลาวคือ ตํารับที่ 4 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตาม
                      คําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยชีวภาพ พด.12 มีปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนไดสูงที่สุด มี




                                                                                                         26
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40