Page 37 - ผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปูนโดโลไมท์ต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน้ำมันในพื้น ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง Effect of using organic fertilizer together with dolomite for growth on oil plam in acid sulfate soil at Phattalung province
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                       ปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได (Exch.Ca)
                               ตํารับ                               (cmol /kg)
                                                                         (+)
                                         กอนการทดลอง         ปที่ 1          ปที่ 2          ปที่ 3
                                T8            0.30            0.86             1.42            1.75
                                                                   b
                                                                                   b
                                                                                                    ab
                                                                                   b
                                                                   b
                                                                                                    ab
                                T9            0.31            0.98             1.64            1.98

                           Average            0.31             0.72            1.13             1.58
                           F-test              ns               **              **               **
                           CV.(%)            27.98            17.57            19.57           29.11
                      หมายเหตุ: ns  ไมมีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต
                                **  มีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99 เปอรเซ็นต
                                     1/ คาเฉลี่ยที่กํากับดวยตัวอักษรที่ตางกันในคอลัมนเดียวกันมีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % โดยวิธี DMRT

                                    2.6 ปริมาณแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได (Exch. Mg) ผลวิเคราะหตัวอยางดินกอนการ
                      ทดลอง พบวา ปริมาณแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนไดทุกตํารับมีคาไมแตกตางกันทางสถิติ โดยดินมีปริมาณ
                      แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนไดอยูในระดับต่ํา (Low) มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.37 เซนติโมลตอกิโลกรัม หลังจาก
                      ดําเนินการทดลองในปที่ 1 พบวา ปริมาณแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนไดทุกตํารับมีคาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ
                      ยิ่งทางสถิติ กลาวคือ ตํารับที่ไมมีการใสโดโลไมท ไดแก ตํารับที่ 1 การใสปุยตามวิธีเกษตรกร ตํารับที่ 2 การใส

                      ปุยเคมีตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และตํารับที่ 3 การใสปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน ปริมาณ
                      แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนไดจะมีคาเปลี่ยนแปลงเล็กนอย มีคาใกลเคียงกับตัวอยางดินกอนการทดลอง มี
                      คาเฉลี่ยเทากับ 0.31, 0.32 และ 0.31 เซนติโมลตอกิโลกรัม ตามลําดับ สวนตํารับที่มีการใสโดโลไมทเพื่อปรับ
                      สภาพดินรวมดวย จะมีปริมาณแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนไดเพิ่มขึ้นทุกตํารับ กลาวคือ ตํารับที่ 4 การใสโดโลไมท
                      ตามคาความตองการปูน    (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และ
                      ใสปุยชีวภาพ พด.12 มีปริมาณแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนไดสูงที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.86 เซนติโมลตอกิโลกรัม
                      รองลงมาคือ ตํารับที่ 5 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตาม

                      คําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 ตํารับที่ 9 การใส
                      โดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสมูลไกแกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2 และปุยอินทรียที่ขยาย
                      เชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 และตํารับที่ 8 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสมูล
                      ไกแกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2 และปุยชีวภาพ พด.12 มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.66, 0.66 และ 0.64 เซนติโมลตอ
                      กิโลกรัม ตามลําดับ หลังการทดลองปที่ 2 พบวา ปริมาณแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนไดมีแนวโนมคงที่ในทุกตํารับ
                      อยูในระดับต่ํา (Low) ไมแตกแตกตางกันทางสถิติ  มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.54 เซนติโมลตอกิโลกรัม สวนหลังการ
                      ทดลองปที่ 3 พบวา ปริมาณแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนไดมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในทุกตํารับที่มีการใชโดโลไมทในการ
                      ปรับสภาพดิน มีคาอยูในระดับปานกลาง (Moderate) ซึ่งมีคาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ
                      กลาวคือ ตํารับที่ 4 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตาม

                      คําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยชีวภาพ พด.12 มีปริมาณแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนไดสูงที่สุด มี
                      คาเฉลี่ยเทากับ 2.60 เซนติโมลตอกิโลกรัม รองลงมาคือ ตํารับที่ 5 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน
                      (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อ
                      ดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 ตํารับที่ 7 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมี
                      อัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 และตํารับที่ 6 การ
                      ใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน และใสปุย
                      ชีวภาพ พด.12 มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.48, 1.52 และ 1.44 เซนติโมลตอกิโลกรัม ตามลําดับ เนื่องจากปูนโดโลไมท

                      มีแมกนีเซียมเปนองคประกอบสูง 15 เปอรเซ็นต จึงทําใหมีแมกนีเซียมสะสมในดินสูงขึ้น สอดคลองกับ


                                                                                                         28
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42