Page 40 - ผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปูนโดโลไมท์ต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน้ำมันในพื้น ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง Effect of using organic fertilizer together with dolomite for growth on oil plam in acid sulfate soil at Phattalung province
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                      ตารางที่ 13 ปริมาณซัลเฟอรที่สกัดไดกอนและหลังดําเนินการที่ระดับความลึก 0-30 เซนติเมตร
                      (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม)

                                                           ปริมาณซัลเฟอรที่สกัดได (Extr.S)
                               ตํารับ                                (mg/kg)
                                         กอนการทดลอง         ปที่ 1          ปที่ 2         ปที่ 3
                                                                                                    bc
                                                                                    ab
                                T1           315.73           289.40          382.38          423.47
                                                                                    b
                                                                                                    b
                                T2           267.94           22.15           267.94          620.76
                                                                                    b
                                                                                                    bc
                                T3           267.82           22.05           267.82          566.85
                                                                                    b
                                                                                                    bc
                                T4           272.57           225.99          272.57          512.45
                                                                                    b
                                                                                                    bc
                                T5           334.53           291.18          367.87          439.22
                                                                                    b
                                                                                                     a
                                T6           269.02           250.67          335.68          897.36
                                                                                                    bc
                                                                                    a
                                T7           282.03           344.42          548.82          431.98
                                                                                    b
                                                                                                     c
                                T8           270.79           224.51          270.79          325.59
                                                                                    b
                                                                                                    bc
                                T9           275.01           228.00          275.01          381.27
                           Average           283.94           255.37          332.10          510.99
                           F-test              ns               ns               *              **
                           CV.(%)             27.52           26.96            29.40           17.63
                      หมายเหตุ: ns  ไมมีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต
                                  *  มีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต
                                  **  มีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99 เปอรเซ็นต
                                     1/ คาเฉลี่ยที่กํากับดวยตัวอักษรที่ตางกันในคอลัมนเดียวกันมีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % โดยวิธี DMRT

                                    2.8 ปริมาณเหล็กที่สกัดได (Extr. Fe) ผลวิเคราะหตัวอยางดินกอนการทดลอง พบวา
                      ปริมาณเหล็กที่สกัดไดทุกตํารับมีคาไมแตกตางกันทางสถิติ โดยดินมีปริมาณเหล็กที่สกัดไดอยูในระดับสูงมาก
                      (Very high) มีคาเฉลี่ยเทากับ 117.18 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม หลังจากดําเนินการทดลองในปที่ 1 พบวา ปริมาณ
                      เหล็กที่สกัดไดมีคาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ กลาวคือ ตํารับที่ไมมีการใสโดโลไมทเพื่อปรับสภาพ
                      ดิน จะมีปริมาณเหล็กที่สกัดไดสูงกวาตํารับที่มีการหวานโดโลไมท ไดแก ตํารับที่ 1 การใสปุยตามวิธีเกษตรกร
                      ตํารับที่ 2 การใสปุยเคมีตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และตํารับที่ 3 การใสปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน
                      ปริมาณเหล็กที่สกัดได มีคาเฉลี่ยเทากับ 188.06, 137.47 และ 117.30 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ สวน

                      ตํารับที่มีการใสโดโลไมท ไดแก ตํารับที่ 4 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมี
                      อัตราครึ่งหนึ่งตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยชีวภาพ พด.12 ตํารับที่ 5 การใสโดโลไมทตาม
                      คาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุย
                      อินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 ตํารับที่ 6 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR)
                      รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน และใสปุยชีวภาพ พด.12 ตํารับที่ 7 การใสโดโลไมท
                      ตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน และใสปุยอินทรียที่ขยาย
                      เชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 ตํารับที่ 8 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสมูลไก

                      แกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2 และปุยชีวภาพ พด.12 และตํารับที่ 9 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน
                      (LR) รวมกับการใสมูลไกแกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2 และปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 มี
                      คาเฉลี่ยเทากับ 105.16, 92.48, 80.70, 91.06, 90.96 และ 100.88 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ โดย
                      ปริมาณเหล็กที่สกัดไดจะมีแนวโนมลดลง เชนเดียวกับในปที่ 2 และปที่ 3 ซึ่งผลการศึกษาสอดคลองกับ
                      คณาจารยภาคปฐพีวิทยา (2548) ที่ไดสรุปไววา การใสวัสดุปูนเพื่อยกระดับคาปฏิกิริยาดินใหสูงขึ้น จะชวยให


                                                                                                         31
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45