Page 31 - ผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปูนโดโลไมท์ต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน้ำมันในพื้น ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง Effect of using organic fertilizer together with dolomite for growth on oil plam in acid sulfate soil at Phattalung province
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                      ปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน และใสปุยชีวภาพ พด.12 ตํารับที่ 8 ที่มีการใส
                      โดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสมูลไกแกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2 และปุยชีวภาพ พด.12
                      และตํารับที่ 7 ที่มีการใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคา
                      วิเคราะหดิน และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซ ุปเปอร พด.9 มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.03, 1.92 และ 1.78
                      เปอรเซ็นต ตามลําดับ สวนตํารับที่ 3 ที่มีการใสปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ําที่สุด มี

                      คาเฉลี่ยเทากับ 1.37 เปอรเซ็นต เชนเดียวกับหลังการทดลองในปที่ 3 ที่ปริมาณอินทรียวัตถุทุกตํารับมีคา
                      แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ปริมาณอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้นทุกตํารับ กลาวคือ ตํารับที่ 8 ที่มีการใสโดโลไมท
                      ตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสมูลไกแกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2 และปุยชีวภาพ พด.12 มี
                      ปริมาณอินทรียวัตถุสูงที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.06 เปอรเซ็นต รองลงมาไดแก ตํารับที่ 6 ที่มีการใสโดโลไมท
                      ตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน และใสปุยชีวภาพ พด.12
                      ตํารับที่ 9 ที่มีการใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสมูลไกแกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2
                      และปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซ ุปเปอร พด.9 และตํารับที่ 7 ที่มีการใสโดโลไมทตามคาความตองการ
                      ปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรีย
                      ซ ุปเปอร พด.9 มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.87, 1.86 และ 1.83 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ซึ่งตํารับที่มีการใชปุยอินทรียที่

                      ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 หรือปุยชีวภาพ พด.12 ก็จะชวยเพิ่มธาตุอาหารและอินทรียวัตถุในดิน
                      ดวย สอดคลองกับเพ็ญศรี (2554) ที่ไดศึกษาการปรับปรุงดินในพื้นที่นารางดวยปุยอินทรียคุณภาพสูงรวมกับ
                      ปุยเคมี จากการศึกษาพบวา ปริมาณอินทรียวัตถุในชั้นดินบนเพิ่มขึ้นคอนขางชัดเจน เนื่องจากผลตกคางจาก
                      กิจกรรมการเกษตร การใสปุย การตัดหญาหรือพืชพรรณธรรมชาติสลายตัวในชั้นดินบนเกิดเปนอินทรียวัตถุ
                      (ภาพที่ 2 และตารางที่ 8)

                                                                          *
                                                           **                            *


                            OM (%)
                                           ns








                      ภาพที่ 3 ปริมาณอินทรียวัตถุกอนและหลังดําเนินการ ที่ระดับความลึก 0-30 เซนติเมตร (เปอรเซนต)











                                                                                                         22
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36