Page 23 - ผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปูนโดโลไมท์ต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน้ำมันในพื้น ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง Effect of using organic fertilizer together with dolomite for growth on oil plam in acid sulfate soil at Phattalung province
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                      ตารางที่ 4 ปริมาณธาตุอาหารที่ไดจากปุยคอกแตละชนิด

                             ชนิดของปุยคอก                               ปริมาณธาตุอาหาร (%)
                                                   ไนโตรเจน    ฟอสฟอรัส  โพแทสเซียม       H     C/N ratio
                                  มูลโค              1.91         0.56        0.40       8.2        15
                                  มูลกระบือ          1.23         0.55        0.69       8.2        15

                                  มูลไก             3.77         1.89        1.76       8.2        13
                                  มูลแกะ             1.87         0.79        1.92        -         -
                                  มูลมา             2.33         0.83        1.31        -         -
                                  มูลสุกร            2.80         1.36        1.18       6.1        -
                                  มูลคางคาว         1.05        14.82        1.84       5.2        -


                                 5. ปูนโดโลไมท [CaMg(CO3)2] เปนแรเกิดจากตะกอนของแคลเซียมและแมกนีเซียมทับถมกัน มี
                      สีตางๆ เชน เทา ชมพู ขาว มีลักษณะคลายแรคัลไซต โดยทั่วไปปูนโดโลไมทเปนแรที่เกิดจากการปะปนมากับ

                      หินปูนประเภท dolomitic limestone หินโดโลไมทบดใชเปนวัสดุปูนไดดี และนอกจากจะชวยยกระดับ pH
                      ของดินไดแลว ยังเพิ่มความเปนประโยชนของธาตุอาหารพืชพวกไนโตรเจน ฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียม
                      ซิลิกา และโมลิบดินัม ชวยเพิ่มและสงเสริมกิจกรรมของจุลินทรียดินที่เปนประโยชนตอพืช ชวยลดการเกิดโรค
                      รากเนา โคนเนาของพืช และควบคุมปริมาณกรดอินทรีย กาซคารบอนไดออกไซด ความเขมขนของเหล็ก
                      อะลูมินั่ม ตลอดจนสารพิษตางๆ เชน ไพไรท และไฮโดรเจนซัลไฟด ในสารละลายดิน มิใหมีการสะสมมาก
                      เกินไปจนเปนพิษ มีคา CCE อยูระหวาง 60-100 เปอรเซ็นต และปูนโดโลไมทที่ใชในการปรับปรุงดินควรมีคา
                      CCE ไมต่ํากวา 90% (เจริญและรสมาลิน, 2542)


                      ระยะเวลาดําเนินการ   เริ่มตนเดือน    ตุลาคม    พ.ศ.  2560
                                                      สิ้นสุดเดือน     กันยายน  พ.ศ.  2563
                      สถานที่ดําเนินการ         1.  แปลงทดลอง หมูที่ 2  ตําบลปากพะยูน  อําเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
                                           2.  หองปฏิบัติการกลุมวิเคราะหดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12
                                           3. Site characterization
                                 คัดเลือกพื้นที่ชุดดินระแงะ (Rangae series : Ra) เพื่อใชเปนแปลงทดลอง พื้นที่ที่คัดเลือกเปนที่
                      ลุมต่ํา มีความลาดชันนอยกวา 1 เปอรเซ็นต ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวน มีสีดําหรือเทาปนดํา เนื่องจากมี
                      อินทรียวัตถุมาก ดินลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีเหลือง

                      และถัดลงไปที่ความลึกตั้งแต 50-100 เซนติเมตร มีลักษณะเปนดินเลนสีเทาปนน้ําเงินที่มีสารประกอบ
                      กํามะถัน (pyrite: FeS2) มาก ดินมีปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรง (pH ต่ํากวา 4.5) ดินมีความสามารถในการอุม
                      น้ําดี ดินนี้จะเปนกรดเพิ่มมากขึ้นอยางรวดเร็วถามีการทําใหดินแหงเปนระยะเวลานานและติดตอกันหลายๆ ป












                                                                                                         14
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28