Page 28 - ผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปูนโดโลไมท์ต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน้ำมันในพื้น ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง Effect of using organic fertilizer together with dolomite for growth on oil plam in acid sulfate soil at Phattalung province
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                      ผลการทดลองและวิจารณ

                                 จากการศึกษาผลการใชปุยอินทรียรวมกับปูนโดโลไมทตอการเจริญเติบโตของปาลมน้ํามันในพื้น

                      ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง ซึ่งดําเนินการในแปลงทดลองหมูที่ 2 ตําบลปากพะยูน อําเภอปากพะยูน จังหวัด
                      พัทลุง ผลการศึกษาเปนดังนี้

                                 1. ผลวิเคราะหทางเคมีบางประการของปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซ ุปเปอร พด.9
                      ปุยชีวภาพ พด.12 และมูลไกแกลบ
                                 จากการวิเคราะหสมบัติทางเคมีของวัสดุปรับปรุงบํารุงดิน ไดแก ปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวย
                      จุลินทรียซ ุปเปอร พด.9 ปุยชีวภาพ พด.12 และมูลไกแกลบ  โดยเทียบจากคามาตรฐานปุยอินทรีย กรม
                      วิชาการเกษตร พ.ศ. 2551 พบวา วัสดุปรับปรุงดินทั้ง 3 ชนิด มีคาความเปนกรดเปนดาง (pH) อยูในชวงที่
                      เหมาะสมสําหรับนํามาใชในการปรับปรุงดิน เชนเดียวกับคาการนําไฟฟา (EC) ซึ่งมีคานอยกวา 10 เดซิซีเมนต
                      ตอเมตร ปริมาณอินทรียวัตถุ (OM) อยูในระดับสูงกวาคามาตรฐาน (มากกวา 20 เปอรเซ็นต) สวนปริมาณ

                      ไนโตรเจน (Total N) ฟอสฟอรัส (P2O5) และโพแทสเซียม (K2O) ของวัสดุปรับปรุงดินทั้ง 3 ชนิด มีสูงกวาคา
                      มาตรฐาน (1 เปอรเซ็นต, 0.5 เปอรเซ็นต และ 0.5 เปอรเซ็นต ตามลําดับ) ยกเวน ปุยชีวภาพ พด.12 ที่มี
                      โพแทสเซียมต่ํากวาคามาตรฐาน ซึ่งเมื่อพิจารณาอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน (C/N Ratio) พบวา วัสดุ
                      ปรับปรุงดินทั้ง 3 ชนิด มีอัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจนนอยกวา 20 แสดงวาวัสดุปรับปรุงดินที่นํามาใช
                      ในการทดลองมีคาการยอยสะลายที่สมบูรณแลว (ตารางที่ 6)

                      ตารางที่ 6 ผลวิเคราะหสมบัติทางเคมีบางประการของวัสดุปรับปรุงดิน

                                                                          ชนิดวัสดุปรับปรุงดิน
                                                          ปุยอินทรียที่ขยาย ปุยชีวภาพ พด.12   มูลไกแกลบ
                        สมบัติทางเคมี     คามาตรฐาน
                                                          เชื้อดวยจุลินทรีย

                                                           ซ  ุปเปอร พด.9
                      pH                    5.5-8.5            6.7               6.9              7.4
                              -1
                      EC (dS m )              ≤10              1.61             0.86              4.63
                      OM (%)                ≥ 20%             39.02             38.87            73.45
                      Total N (%)         ≥ 1.0%w/w            2.25             2.24              2.97
                      P2O5 (%)            ≥ 0.5%w/w            2.56             2.40              2.70

                      K2O (%)             ≥ 0.5%w/w            0.68             0.30              1.90
                      C/N ratio              ≤ 20/1            10.06            10.06             14.34

                                 2. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน กอนและหลังดําเนินการทดลอง ที่ระดับความลึก
                      0-30 เซนติเมตร ผลการศึกษาดังนี้
                                    2.1 คาปฏิกิริยาดิน ผลวิเคราะหตัวอยางดินกอนการทดลอง พบวา คาปฏิกิริยาดินทุกตํารับมี
                      คาไมแตกตางกันทางสถิติ โดยดินมีปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรง มีคาเฉลี่ย 3.46 คาความตองการปูนเฉลี่ย
                      เทากับ 1.64 ตันตอไร คิดเปนปริมาณโดโลไมทอัตรา 1.78 ตันตอไร หลังจากดําเนินการทดลองในปที่ 1 พบวา
                      คาปฏิกิริยาดินทุกตํารับมีคาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ กลาวคือ ตํารับที่ 1 ที่มีการใสปุยตามวิธี
                      เกษตรกร ตํารับที่ 2 ที่มีการใสปุยเคมีตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และตํารับที่ 3 ที่มีการใสปุยเคมี

                      ตามคาวิเคราะหดิน คาปฏิกิริยาดินจะมีคาใกลเคียงกับตัวอยางดินกอนการทดลอง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.53,
                      3.43 และ 3.53 ตามลําดับ สวนตํารับที่มีการใสโดโลไมท มีคาปฏิกิริยาดินเพิ่มขึ้นทุกตํารับ กลาวคือ ตํารับที่ 5



                                                                                                         19
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33