Page 21 - ผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปูนโดโลไมท์ต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน้ำมันในพื้น ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง Effect of using organic fertilizer together with dolomite for growth on oil plam in acid sulfate soil at Phattalung province
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                   4. จุลินทรีย ซุปเปอร พด. 9             1 ซอง (100 กรัม)
                                    การขยายเชื้อจุลินทรีย ซุปเปอร พด.9
                                   1. ผสมปุยหมักกับรําขาวละเอียดใหเขากันและละลายจุลินทรียพด.9 ในน้ําและกวนสวนผสม
                      ประมาณ 5 นาที
                                   2. นําจุลินทรีย ซุปเปอร พด. 9 ที่ละลายน้ําเทลงในสวนผสมของปุยหมักและรําขาวผสมวัสดุ

                      ใหเขากันและปรับความชื้นดวยน้ําใหเขากันประมาณ 70 เปอรเซ็นต
                                   3. ตั้งกองปุยหมักในรมเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาใหสูงประมาณ 50 เซนติเมตรใชวัสดุคลุมเพื่อ
                      รักษาความชื้น
                                   4. ในระหวางขยายเชื้อใหรักษาความชื้นในกองปุยใหไดประมาณ 70 เปอรเซ็นต
                                   5. ขยายเชื้อเปนเวลา 4 วันจึงนําไปใชได
                                   การใชจุลินทรีย ซุปเปอร พด.9 มีประโยชนในการเพิ่มความเปนประโยชนของฟอสฟอรัสใน
                      ดินกรด ดินเปรี้ยวและเพิ่มการละลายฟอสฟอรัสในหินฟอสเฟตใหอยูในรูปที่พืชใชประโยชนได (กรมพัฒนา
                      ที่ดิน, 2558)
                                    3.3 ปุยชีวภาพ พด.12

                                   ปุยชีวภาพ พด.12 เปนปุยที่ไดจากการนําจุลินทรียที่มีชีวิตสรางอาหาร ธาตุอาหารหรือชวย
                      ใหธาตุอาหารเปนประโยชนกับพืชมาใชปรับปรุงดินทางชีวภาพ ทางกายภาพและทางชีวเคมี ทําใหดินมีความ
                      อุดมสมบูรณเพิ่มมากขึ้น และสรางฮอรโมนสงเสริมการเจริญเติบโตของพืช ประกอบดวย จุลินทรียที่ใหธาตุ
                      ไนโตรเจน จุลินทรียที่ใหธาตุฟอสฟอรัส จุลินทรียที่ใหธาตุโพแทสเซียม และจุลินทรียที่ผลิตฮอรโมน และสาร
                      เสริมการเจริญเติบโต
                                   จุลินทรียที่ใหธาตุไนโตรเจน มี 2 กลุม คือ จุลินทรียที่อยูรวมกับพืช ไดแก ไรโซเบียม เปน
                      จุลินทรียที่มีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนสูงมาก สามารถทดแทนไนโตรเจนจากปุยเคมีไดโดยใหกับพืช

                      อาศัยมากกวา 50 เปอรเซ็นต และจุลินทรียที่อยูอยางอิสระ ไดแก Azotobecter sp., Azospirillum sp. และ
                      Bacillus sp. เปนจุลินทรียที่สามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศ และเปลี่ยนใหอยูในรูปแอมโมเนียมที่เปน
                      ประโยชนตอพืช โดยกิจกรรมเอนไซมไนโตรจีเนส (กรมพัฒนาที่ดิน, 2559)
                                   จุลินทรียที่ใหธาตุฟอสฟอรัสมี 2 กลุม คือ จุลินทรียที่ชวยดูดซับธาตุฟอสฟอรัสใหกับพืช
                      ไดแก ไมโครไรซา ซึ่งเปนจุลินทรียที่อาศัยอยูในรากพืชแบบพึ่งพาซึ่งกันและกันมี 2 ชนิด คือ วี-เอไมโครไรซา
                      และเอ็คโคไมโครไรซา เปนจุลินทรียที่ชวยเพิ่มพื้นที่ผิวราก และชอนไชเขาไปในดินไดสัมผัสกับธาตุฟอสฟอรัส
                      และจะดูดธาตุนี้โดยตรง แลวถายทอดตอไปยังรากพืช ซึ่งจะชวยลดการใชปุยเคมีลงไดอยางนอย 25
                      เปอรเซ็นต (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558) นอกจากนี้ เชื้อราไมโคไรซา ยังชวยปองกันไมใหธาตุฟอสฟอรัสที่ละลาย
                      ออกมา ถูกตรึงโดยปฏิกิริยาทางเคมีของดินดวย เพราะเชื้อรานี้จะชวยดูดซับเก็บไวในโครงสรางพิเศษที่เรียกวา

                      อาบัสกูลและเวสิเคิล ที่อยูในเซลลพืช จุลินทรียที่ละลายสารประกอบฟอสเฟต โดยทั่วไปประเทศไทยมีปริมาณ
                      ฟอสเฟตที่ละลายออกมาไดนอย จุลินทรียกลุมนี้สามารถเพิ่มความเปนประโยชนของฟอสฟอรัสจากหิน
                      ฟอสเฟตใหเปนประโยชนได เชน Bacillus sp., pseudomonas sp., Aspergillus sp. เปนตน และการที่จะ
                      ใหหินฟอสเฟตละลายไดดีจะตองทําใหเกิดสภาพกรด ซึ่งจุลินทรียเหลานี้จะผลิตกรดออกมาละลายฟอสฟอรัส
                      ใหอยูในรูปที่เปนประโยชนตอพืชได (มุกดา, 2545)
                                   จุลินทรียที่ใหธาตุโพแทสเซียมเปนจุลินทรียที่ปลดปลอยกรดอินทรีย เชน กรดแลคติค, กรดซิ

                      ตริค, กรดออกซาลิค เปนตน หรือกรดอนินทรีย เชน กรดคารบอนิค, กรดไนตริค และกรดซัลฟูริค เปนตน ชวย
                      ละลายแรและวัตถุตนกําเนิดดินที่มีโพแทสเซียมเปนองคประกอบ จุลินทรียที่สามารถปลดปลอยกรดออกมา
                      ละลายแรอะลูมิโนซิลิเกต เชน Bacillus sp. Pseudomonas sp., Aspergillus sp และ Penicilium sp. โดย
                      ละลายไดจากแรในกลุมไมกา และกลุมเฟลดสปารใหอยูในรูปที่พืชสามารถนําไปใชประโยชนได (กรมพัฒนา


                                                                                                         12
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26