Page 20 - ผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปูนโดโลไมท์ต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน้ำมันในพื้น ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง Effect of using organic fertilizer together with dolomite for growth on oil plam in acid sulfate soil at Phattalung province
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                      นําไปใชประโยชนทางการเกษตรไดอยางเห็นผลและมีประสิทธิภาพทําใหเรงการเจริญเติบโตของรากพืชเรงการ
                      ขยายตัวของใบและยืดตัวของลําตน  สงเสริมการออกดอกและติดผลดี  ตานทานโรคและแมลง (กรมพัฒนา
                      ที่ดิน, 2558)
                                   การผลิตน้ําหมักชีวภาพ พด. 2 โดยมีวัสดุที่ใชในการผลิตน้ําหมักชีวภาพ คือ
                                   น้ําหมักชีวภาพจากผักและผลไม จํานวน 50 ลิตร (ใชเวลาในการหมัก 7 วัน)

                                   1. ผักและผลไม                     40 กิโลกรัม
                                   2. กากน้ําตาล                      10  กิโลกรัม
                                   3. น้ํา                            10  ลิตร (หรือใหทวมวัสดุหมัก)
                                   4. สารเรง พด.2                     1  ซอง ( 25 กรัม)
                                   น้ําหมักชีวภาพจากปลาหรือหอยเชอรี่จํานวน 50 ลิตร (ใชเวลาในการหมัก 15-20 วัน)
                                   1. ปลาหรือหอยเชอรี่                30  กิโลกรัม
                                   2. ผลไม                           10  กิโลกรัม
                                   3. กากน้ําตาล                      10  กิโลกรัม
                                   4. น้ํา                            10  ลิตร (หรือใหทวมวัสดุหมัก)

                                   5. สารเรง พด.2                    1  ซอง ( 25 กรัม)
                                    จากการศึกษา พบวา ปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองในน้ําหมักชีวภาพจากปลามี
                      ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียมและกํามะถันโดยเฉลี่ย 0.98, 1.12, 1.03,
                      1.66, 0.24 และ 0.20 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองในน้ําหมักชีวภาพจาก
                      หอยเชอรี่มีปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และกํามะถันโดยเฉลี่ย 0.73,
                      0.24, 0.89, 2.90, 0.32 และ 0.22 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองในน้ํา
                      หมักชีวภาพจากผักและผลไมมี ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และ

                      กํามะถัน โดยเฉลี่ย 0.14, 0.04, 0.53, 0.08, 0.06 และ 0.11 เปอรเซ็นต ตามลําดับ และปริมาณฮอรโมนออก
                      ซิน จิบเบอเรลลิน ไซโตไคนิน และกรดฮิวมิก ในน้ําหมักชีวภาพจากปลา โดยเฉลี่ย 4.01, 33.07, 3.05 และ
                      3.36 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ปริมาณฮอรโมนออกซิน จิบเบอเรลลิน ไซโตไคนิน และกรดฮิว-มิก ในน้ําหมัก
                      ชีวภาพจากหอยเชอรี่ โดยเฉลี่ย 6.85, 37.14, 13.62 และ 3.07 เปอรเซ็นต ตามลําดับ
                      (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
                                    3.2 จุลินทรียเพิ่มความเปนประโยชนของฟอสฟอรัสในดินกรด ดินเปรี้ยว พด.9 หรือ
                      จุลินทรีย ซุปเปอร พด.9 เปนกลุมจุลินทรียที่มีความสามารถในการละลายฟอสฟอรัสโดยเปลี่ยนรูปจาก
                      สารประกอบอนินทรียฟอสเฟตที่ไมละลายน้ําหรือที่พืชใชประโยชนไมไดใหอยูในรูปที่พืชใชประโยชนได
                      ประกอบดวยแบคทีเรีย Burkhoderia sp. 2 สายพันธุโดย จุลินทรียผลิตกรดอินทรีย เชน กรดกลูโคมิค, กรดคี

                      โตกลูโคมิค, กรดอะซิติค, กรดซิตริค หรือกรดอนินทรีย เชน กรดไนตริก กรดซัลฟูริค กรดไฮโดรคลอริก เปน
                      ตน รวมกับฟอสฟอรัสที่โดนตรึงเอาไวไดสารประกอบคีเลต ซึ่งพืชสามารถนําไปใชได (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
                      จากการที่กรดอินทรียและสารฮิวมิคบางชนิดในดินทําปฏิกิริยาคีเลชั่นกับเหล็กและอะลูมินั่มไอออนได
                      สารประกอบคีเลตที่มีเสถียรภาพ โดยเหล็กและอะลูมินั่มสวนนั้นจะหมดโอกาสที่จะตรึงฟอสฟอรัส ชวยทําให
                      พืชไดประโยชนฟอสฟอรัสในดินเพิ่มมากขึ้น หากดินปลดปลอยฟอสเฟตไอออนออกมาอยูในรูปสารละลายดิน
                      ดวยความเขมขนที่เหมาะสมและสม่ําเสมอ พืชก็จะเจริญเติบโตและใหผลผลิตสูง (ยงยุทธ และคณะ, 2551)

                                   วัสดุสําหรับการขยายเชื้อ (วัสดุสําหรับการขยายเชื้อ)
                                   1. ปุยหมัก                        300 กิโลกรัม
                                   2. รําขาวละเอียด                     3 กิโลกรัม
                                   3. น้ํา                              20 ลิตร


                                                                                                         11
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25