Page 41 - เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน OVERVIEW of TECHNOLOGIES and APPROACHES for SUSTAINABLE DEVELOPMENT
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


       ธนาคารน ้าใต้ดิน ในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย


                   อบต.วังหามแห อ้าเภอขาณุวรลักษบุรี  จังหวัดก้าแพงเพชร



                              เป้าหมาย

    ช่วยรักษาสมดุลของระดับน  าใต้ดิน มีการกระจายตัวอย่างทั่วถึง สามารถแก้ปัญหา
    น  าท่วมขังในฤดูฝนและภัยแล้งในช่วงแล้งได้เป็นอย่างดีเกษตรกรสามารถขุดเจาะบ่อ
    หรือบ่อน  าบาดาลเพื่อน าน  าขึ นมาใช้ในพื นที่ได้อย่างเพียงพอ


              การมีส่วนร่วมและบทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
        (ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่น หรือชุมชนระดับท้องถิ่น/ครู เด็กนักเรียน หรือนักศึกษา/
                       ภาคเอกชน /รัฐบาลระดับท้องถิ่น )

    การริเริ่มหรือการจูงใจ เกิดปัญหาภัยแล้ง ขาดแคลนน  าท าการเกษตรในหน้าแล้ง และ
    ยังเกิดน  าท่วมขังในช่วงฤดูน  าหลากเป็นประจ า
    การวางแผน  ไปอบรมดูงานที่อบต.เก่าขาม และได้รับความรู้เกี่ยวกับธนาคารน  าใต้ดิน
    ระบบบ่อเปิดและบ่อปิด น ามาปรับใช้ในพื นที่
    การด้าเนินการ ท าธนาคารน  าใต้ดินระบบบ่อเปิดโดยเรื่มจากการขุดหลุมที่พื นบ่อเก่าของ
    กรมพัฒนาที่ดิน (พ.ด.) จากเดิม 3 เมตร ให้ลึกเป็น 8 เมตร จ านวน 3 หลุม (ในทิศเหนือ
    ตะวันออกและตะวันตก)
    การติดตามตรวจสอบหรือการประเมินผล ตรวจสอบปริมาณน  าที่ได้จากบ่อที่ด าเนินการ
    ไว้ในช่วงฝน พบว่ามีปริมาณน  าเหลือมากพอส าหรับใช้ในช่วงแล้ง
    อื่น ๆ เริ่มระดมก าลังและงบประมาณในการท าธนาคารน  าใต้ดินระบบบ่อเปิดและบ่อปิด โดย
    ปี 2561 มีจ านวนมากกว่า 15,000 บ่อ และมีนโยบายจากนายอ าเภอ ให้ทุกหมู่บ้านมีการท า
    ธนาคารน  าใต้ดินระบบบ่อปิดอย่างน้อย 1 จุดต่อเดือน


    จุดแข็ง: มุมมองของผู้ใช้ที่ดิน
    จุดแข็ง: มุมมองของผู้ใช้ที่ดิน
    • ป้องกันน  าท่วมและภัยแล้ง ท าให้มีปริมาณน  าพอเพียงกับการเกษตร
     ป้องกันน  าท่วมและภัยแล้ง ท าให้มีปริมาณน  าพอเพียงกับการเกษตร
    • สามารถขยายเวลาและพื นที่ในการเพาะปลูกออกไปได้อีก ผลผลิต
     สามารถขยายเวลาและพื นที่ในการเพาะปลูกออกไปได้อีก
    ทางการเกษตรเพมิ่ ขึ นทัง้ ปริมาณและคุณภาพ
        ผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ นทั งปริมาณและคุณภาพ
    • เกษตรกรมีอาชีพที่มั่นคง รายได้และฐานะดีขึ น
     เกษตรกรมีอาชีพที่มั่นคง รายได้และฐานะดีขึ น
    • ท าให้สภาพแวดล้อมและคุณภาพชีวิตดีขึ นกว่าเดิม
     ท าให้สภาพแวดล้อมและคุณภาพชีวิตดีขึ นกว่าเดิม


    จุดด้อย/ข้อเสีย/ความเสี่ยง:มุมมองของผู้ใช้ที่ดิน                                แก้ไขปัญหาได้อย่างไร


     ต้องใช้งบประมาณค่อนข้างมากในการจัดตั งธนาคารน  าใต้ดิน รวมถึงการ   ควรมีนโยบายของรัฐบาลที่จะให้งบประมาณอย่างต่อเนื่องเพื่อสนับสนุน
        น าไปใช้ และขยายไปสู่ผู้อื่น                                 กิจกรรมนี
     เกษตรกรที่จัดท าธนาคารน  าใต้ดินควรรู้และเข้าใจเทคโนโลยีนี ค่อนข้างดี   ควรจัดอบรม / ประชุมเชิงปฏิบัติการส าหรับเกษตรกรในและรอบๆ
     การเติมน  าลงสู่ระดับน  าใต้ดินโดยตรงอาจส่งผลให้เกิดการปนเปื้อนสารเคมี  เครือข่ายนี
        ในน  าบาดาลได้ (ระบบบ่อเปิด)                               ควรให้ความรู้ ดูแล และระมัดระวังเรื่องการใช้สารเคมีในพื นที่ที่ท าธนาคาร
     การใช้ยางรถยนต์ และขวดน  าพลาสติกเป็นวัสดุที่ใช้ในระบบบ่อปิด อาจ  น  าใต้ดิน
        เกิดการย่อยสลายสารพิษลงในระดับน  าใต้ดินได้ซึ่งอาจไม่เห็นผลในตอนนี     วัสดุที่ใช้ในระบบบ่อปิด ควรเป็นวัสดุที่ย่อยสลายช้าและเป็นวัสดุตาม
        เพราะความลึกของระบบบ่อปิดยังอยู่เหนือระดับชัน้ ดินเหนียว     ธรรมชาติ เช่น หินก้อนใหญ่
     คุณภาพน  าใต้ดินมีความส าคัญมาก ดังนั นการตรวจสอบคุณภาพน  า   ควรมีการตรวจเช็คคุณภาพน  าและผลกระทบจากการท าธนาคารน  าใต้ดิน
        อย่างสม ่าเสมอจึงเป็นสิ่งจ าเป็น                             ทั งสองระบบอย่างต่อเนื่อง

            เอกสารฉบับเต็มหัวข้อที่ 24 ธนาคารน้ำใต้ดิน: การเติมน้ำลงสู่ระดับน้ำใต้ดินและกักเก็บน้ำ
            ใต้ดินในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย                                                                 36
            จากหนังสือ 37 เทคโนโลยีเพื่อการจัดการดินอย่างยั่งยืน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46