Page 40 - เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน OVERVIEW of TECHNOLOGIES and APPROACHES for SUSTAINABLE DEVELOPMENT
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                  ธนาคารน ้าใต้ดิน                            การเติมน ้าลงสู่ระดับน ้าใต้ดินและกักเก็บน ้าใต้ดิน


                                                                  ในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย




                                                                           ธนาคารน ้าใต้ดิน


                                                                                                        จารุวรรณ เฮียงมะณี
                                                                                             กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน



                           ธนาคารน ้าใต้ดิน                         เพิ่มน้ าส้ารอง                  ใช้พื นที่น้อย
                                                                       ไว้ใต้ดิน
          เป็นแหล่งกักเก็บน  าใต้ดินขนาดใหญ่ สามารถเก็บน  า                        เครือข่ายน ้า
          ส่วนเกินในฤดูฝน ป้องกันการเกิดน  าท่วม และแก้ไข            ป้องกัน        ขนาดใหญ่

          ปัญหาภัยแล้ง ใช้พื นที่และต้องการงบประมาณน้อย              น ้าท่วม                           แก้ปัญหา
                                                                                                         ภัยแล้ง
          แต่สามารถเพิ่มน  าส ารองโดยเก็บไว้ใต้ดิน

                                                                                 ใช้งบประมาณน้อย






























                          ระบบบ่อปิด                                                ระบบบ่อเปิด

   ขุดบ่อให้ความกว้างยาวของปากบ่อ 1-5 เมตร ลึก 1-5 เมตร ความกว้างและ  การท าระบบบ่อเปิด จะเลือกขุดบ่อเติมน  าบริเวณล าน  าตอนบนและขุดไว้
   ความลึกตามสภาพพื นที่ แต่ความลึกต้องไม่น้อยกว่าความกว้างของปากบ่อ   กลางล าน  า เมื่อมวลของน  ากดทับลงไปที่ระดับน  าใต้ดิน น  าจะเข้ามา
   ควรท าในบริเวณที่ต่ าหรือน  าท่วมขัง เช่น ถ้าเป็นบ่อวงกลม ปากบ่อ  แทนที่อากาศในชั นใต้ดิน ท าให้อากาศก็ต้องหาทางออก ดังนั นการใช้งาน
   เส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร ก้นบ่อเส้นผ่าศูนย์กลาง 0. 70 เมตร ลึก 1.5 เมตร เป็น  ระบบนี เราต้องขุดบ่อลม (บ่อน  าผิวดิน) 1-2 บ่อ เพื่อให้อากาศสามารถ

   ต้น ใส่วัสดุหยาบลงในบ่อ เพื่อให้น  าไหลซึมได้ง่ายถึงระดับน  าใต้ดิน และป้องกัน  ออกมาจากชั นใต้ดินได้ เนื่องจากน  าใต้ดินไหลจากทิศตะวันตกไป
   การพังทลายของขอบบ่อ วัสดุที่ใช้ ได้แก่ ก้อนหิน เศษไม้ ยางรถยนต์ ขวดแก้ว   ตะวันออก ซึ่งเป็นทิศทางการหมุนของโลก การขุดบ่อเติมน  าหรือบ่อเติม
   (ต้องไม่มีสารเคมี) ขวดพลาสติก (ที่บรรจุน  า 3 ใน 4 ส่วน) และใส่ท่อ PVC ลง  น  าต้องอยู่ทางทิศตะวันตก และบ่อลมต้องขุดทางทิศตะวันออก หรือทิศ
   ตรงกลางบ่อเพื่อใช้ระบายอากาศออก ซึ่งวัสดุหยาบทั งหมดต้องต่ ากว่าปากบ่อ   ตะวันออกเฉียงใต้ หรือทิศใต้ ขนาดของบ่อเปิดมาตรฐาน กว้าง x ยาว
   20 เซนติเมตร น าผ้าตาข่ายสีฟ้าหรือผ้าสแลนปูทับด้านบน และกลบทรายหยาบ  เท่ากับ 40 x 60 เมตร หรือ 20 x 40 เมตร ความลาดเอียง 45 องศา ลึก
   ตามด้วยหินก่อสร้างหรือกรวดแม่น  าใส่ให้เสมอปากบ่อ เพื่อป้องกันสิ่งปนเปื้อน  7-12 เมตร หรือลึกถึงชั นหินอุ้มน  า ทั งนี ขึ นอยู่ความเหมาะสมกับสภาพ
   ที่มากับน  าลงสู่บ่อ และง่ายต่อการดูแลรักษา                  พื นที่และความต้องการ


                                                                                                                  35
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45