Page 42 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยยาง อำเภอศรีเทพ และอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          24


               ของการชะล้างพังทลายของดิน ที่เกษตรกรเข้าใจมากสุดคือ สารเคมีและยาฆ่าแมลงที่ไหลปนไปกับ
               ตะกอนดินท าให้เกิดมลพิษสะสมในดินและน้ าในพื้นที่ตอนล่างมีผลเสียหายต่อคน พืช สัตว์บก และสัตว์น้ า

               และ ดินที่ถูกชะล้าง/กัดเซาะ จะถูกพัดพาไหลไปตกตะกอนในแหล่งน้ า ล าคลอง/อ่างเก็บน้ า ท าให้ตื้นเขิน

                               - การป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า เกษตรกรมีความรู้
               ความเข้าใจวิธีการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของดินในภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 94.74

               รองลงมายังไม่แน่ใจ ร้อยละ 3.95 และยังไม่ทราบถึงวิธีป้องกันและแก้ไข ร้อยละ 1.32 ซึ่งเกษตรกรมี
               ความรู้ความเข้าใจการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของดินคือ การมีระบบอนุรักษ์ดินและ

               น้ าทั้งมาตรการทางวิธีกล เช่น ท าคันดินขวางความลาดชัน ท าคูรับน้ าขอบเขา ท าขั้นบันไดดิน ท าฝายน้ า

               ล้นหรือคันชะลอความเร็วของน้ า การยกร่องตามแนวระดับ การไถพรวนตามแนวระดับ บ่อดักตะกอน บ่อ
               น้ าในไร่นาและมาตรการทางวิธีพืช เช่น ปลูกพืชตามแนวระดับ ปลูกหญ้าแฝก ปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชปุ๋ย

               สด ปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกพืชแซม ปลูกพืชเหลื่อมฤดู

               ตารางที่ 2-3  ร้อยละความรู้ความเข้าใจของเกษตรกรต่อการชะล้างพังทลายของดิน


                                                                                       ร้อยละ
                           ความรู้ความเข้าใจของเกษตรกรต่อการชะล้างพังทลายของดิน
                                                                                ใช่     ไม่ใช่    ไม่แน่ใจ
                “การชะล้างพังทลายของดิน” คือ                                  97.37     0.00    2.63
                1) ปรากฏการณ์ซึ่งที่ดินถูกชะล้างกัดเซาะพังทลายด้วยพลังงานที่เกิดจากน้ า ลม หรือ   94.74   0.00   5.26
                    โดยเหตุอื่นใด ให้เกิดการเสื่อมโทรม สูญเสียเนื้อดิน หรือความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                2) การที่ดินถูกพัดพาโดยธรรมชาติ หรือการกระท าของมนุษย์ จนท าให้ผิวหน้าดินหายไป    100.00   0.00   0.00
                    หรือเกิดเป็นร่องขนาดต่าง ๆ
                สาเหตุที่ท้าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน                     76.32     5.92    17.76
                1) การชะล้างพังทลายของดินเกิดจากสาเหตุใหญ่ 2 ประการ            57.89    2.64    39.47
                2) การชะล้างพังทลายของดินโดยธรรมชาติ โดยมีทั้งน้ าและลมเป็นตัวการ เช่น    89.48   5.26   5.26
                    การชะละลายการพัดพาโดยลมตามชายฝั่งทะเลหรือในทะเลทราย
                3) การชะล้างพังทลายโดยธรรมชาติ มักใช้เวลานาน เป็นการเกิดแบบค่อยเป็นค่อยไปและ   68.42   15.79   15.79
                    ช้ามาก
                4) การชะล้างพังทลายของดินที่มีตัวเร่ง โดยมีมนุษย์หรือสัตว์เลี้ยงเข้ามาช่วยเร่งให้มีการ   89.47   0.00   10.53
                    ชะล้างพังทลายของดินเพิ่มมากขึ้น เช่น การถางป่า ตัดไม้ท าลายป่า การขุดถนน
                    การท าการเกษตรอย่างขาดหลักวิชาการ การขุดที่อยู่อาศัยของสัตว์
                ปัจจัยส้าคัญที่ท้าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน               77.37    13.16    9.47
                1) ความลาดชัน ความยาวของความลาดชัน                             84.21   13.16    2.63
                2) ปริมาณน้ าฝน                                                92.11    5.26    2.63
                3) ลักษณะของเนื้อดิน                                           73.68   10.53    15.79
                4) ชนิดหรือประเภทของสิ่งปกคลุม                                 63.16   21.05    15.79
                5) การมีหรือไม่มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า                     73.68   15.79    10.53
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47