Page 43 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยยาง อำเภอศรีเทพ และอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 43
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
25
ตารางที่ 2-3 ร้อยละความรู้ความเข้าใจของเกษตรกรต่อการชะล้างพังทลายของดิน (ต่อ)
ร้อยละ
ความรู้ความเข้าใจของเกษตรกรต่อการชะล้างพังทลายของดิน
ใช่ ไม่ใช่ ไม่แน่ใจ
ผลกระทบของการชะล้างพังทลายของดิน 96.71 0.66 2.63
1) เกิดความเสียหายกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 94.74 0.00 5.26
2) ดินที่ถูกชะล้าง/กัดเซาะ จะถูกพัดพาไหลไปตกตะกอนในแหล่งน้ า ล าคลอง/อ่างเก็บน้ า 97.37 2.63 0.00
ท าให้ตื้นเขิน
3) ตะกอนดินในแม่น้ าล าคลอง จะท าให้ในฤดูฝนเก็บน้ าไว้ไม่ทัน ท าให้เกิดน้ าท่วม และ 94.74 0.00 5.26
ในฤดูแล้งขาดแคลนน้ า
4) สารเคมีและยาฆ่าแมลงที่ไหลปนไปกับตะกอนดิน ท าให้เกิดมลพิษสะสมในดิน และน้ า 100.00 0.00 0.00
ในพื้นที่ตอนล่าง มีผลเสียหายต่อคน พืช สัตว์บก และสัตว์น้ า
การป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน 94.74 1.32 3.95
1) ระบบอนุรักษ์ดินและน้ ามาตรการทางวิธีกล เช่น ท าคันดินขวางความลาดชัน ท าคูรับน้ า 94.74 2.63 2.63
ขอบเขา ท าขั้นบันไดดิน ท าฝายน้ าล้นหรือคันชะลอความเร็วของน้ า การยกร่องตาม
แนวระดับ การไถพรวนตามแนวระดับ บ่อดักตะกอน บ่อน้ าในไร่นา
2) ระบบอนุรักษ์ดินและน้ ามาตรการทางวิธีพืช เช่น ปลูกพืชตามแนวระดับ ปลูกหญ้าแฝก 94.74 0.00 5.26
ปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชปุ๋ยสด ปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกพืชแซม ปลูกพืชเหลื่อมฤดู
(2) สภาพปัญหาของพื้นที่ แนวทางการแก้ไขปัญหาด้วยภูมิปัญญา และความต้องการของ
ชุมชน รายละเอียดแสดงในตารางที่ 2-4 ดังนี้