Page 41 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยยาง อำเภอศรีเทพ และอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 41
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
23
- หมู่ที่ 13 บ้านหลักเมือง ต าบลศรีเทพ อ าเภอศรีเทพ
- หมู่ที่ 15 บ้านนาตะกรุดพัฒนา ต าบลศรีเทพ อ าเภอศรีเทพ
- หมู่ที่ 16 บ้านบึงนาจาน ต าบลศรีเทพ อ าเภอศรีเทพ
โดยมีประเด็นการรับฟังความคิดเห็น คือ
(1) ความรู้ความเข้าใจของเกษตรกรต่อการชะล้างพังทลายของดิน
(2) สภาพปัญหาของพื้นที่ แนวทางการแก้ไขปัญหาด้วยภูมิปัญญา และความต้องการของ
ชุมชน
3) ผลการรับฟังความคิดเห็น
จากการประชุมประชาพิจารณ์ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2563 ณ ห้องประชุม
องค์การบริหารส่วนต าบลนาสนุ่น อ าเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของชุมชนผ่าน
กระบวนการมีส่วนร่วม ได้ผลดังนี้
(1) ความรู้ความเข้าใจของเกษตรกรต่อการชะล้างพังทลายของดิน ประเด็นความรู้ความ
เข้าใจของเกษตรกรต่อการชะล้างพังทลายของดินในการเข้าร่วมประชาพิจารณ์ในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยยาง
อ าเภอศรีเทพ และอ าเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจต่อการชะล้าง
พังทลายของดินแต่ละประเด็นมากน้อยแตกต่างกัน สามารถจ าแนกเป็นประเด็นต่าง ๆ (ตารางที่ 2-3)
รายละเอียดดังนี้
- การชะล้างพังทลายของดิน พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจต่อ
ประเด็นนี้ ภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 97.37 และยังไม่แน่ใจ ร้อยละ 2.63 ซึ่งเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจ
การชะล้างพังทลายของดินเกิดขึ้นทั้งปรากฏการณ์ดินถูกชะล้างกัดเซาะพังทลายด้วยพลังงานที่เกิดจากน้ า
ลม หรือโดยเหตุอื่นใด ให้เกิดการเสื่อมโทรม หรือความอุดมสมบูรณ์ของดิน และโดยธรรมชาติ หรือการ
กระท าของมนุษย์ จนท าให้ผิวหน้าดินหายไป หรือเกิดเป็นร่องขนาดต่าง ๆ
- สาเหตุที่ท้าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจ
ถึงสาเหตุท าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดินในภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 76.32 รองลงมา ยังไม่แน่ใจ ร้อย
ละ 17.76 และยังไม่ใช่ ร้อยละ 5.92 ซึ่งข้อที่เกษตรกรเข้าใจมากสุดคือ การชะล้างพังทลายของดินโดย
ธรรมชาติ โดยมีทั้งน้ าและลมเป็นตัวการ และการชะล้างพังทลายของดินที่มีตัวเร่ง โดยมีมนุษย์หรือสัตว์
เลี้ยงเข้ามาช่วยเร่งให้มีการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มมากขึ้น เช่น การถางป่า ตัดไม้ท าลายป่า การขุด
ถนน การท าการเกษตรอย่างขาดหลักวิชาการ การขุดที่อยู่อาศัยของสัตว์
- ปัจจัยส้าคัญที่ท้าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า เกษตรกรมีความรู้ความ
เข้าใจภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 77.37 รองลงมายังไม่ใช่ ร้อยละ 13.16 และยังไม่แน่ใจ ร้อยละ 9.47 ซึ่งข้อ
ปัจจัยส าคัญที่ท าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดินที่เกษตรกรเข้าใจมากสุดคือ ปริมาณน้ าฝน และ ความ
ลาดชัน ความยาวของความลาดชัน
- ผลกระทบของการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจ
ภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 96.71 รองลงมา ยังไม่แน่ใจ ร้อยละ 2.63 และยังไม่ใช่ ร้อยละ 0.66 ซึ่งผลกระทบ