Page 91 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 91

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          75



                       - ควบคุมมิให้มีการเปลี่ยนแปลงสภาพป่าตามธรรมชาติไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบอื่น

                       - ควรมีการบ ารุงรักษาสภาพป่าธรรมชาติตามหลักวิชาการ
                       - ด าเนินการป้องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้ท าลายป่า ให้มีประสิทธิภาพและมีการ

               ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งด าเนินการกับผู้กระท าผิดอย่างเด็ดขาด

                       - ถ้าบริเวณนี้มีการบุกรุกพื้นที่ในภายหลัง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในพื้นที่ควรรีบด าเนินการปลูกป่า
               ทดแทนโดยเร็ว และป้องกันการบุกรุกเพิ่ม

                       - ควรส่งเสริมให้ราษฎรในพื้นที่ และพื้นที่ข้างเคียงเห็นคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้ และมีส่วนร่วม
               ในการดูแลรักษาป่าไม้


                                                                                    เขตนี้มีเนื้อที่ 12,547
               ไร่ หรือร้อยละ 3.80 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า พื้นที่ในเขตนี้ปัจจุบันมีสภาพเป็นพื้นที่ป่ารอสภาพฟื้นฟู และบาง

               บริเวณมีการใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตร ได้แก่ บริเวณที่มีการปลูกสับปะรด ในสภาพพื้นที่มีความลาดชัน

               มากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ ส่วนใหญ่มีการใช้พื้นที่เพื่อปลูกสับปะรด ป่ารอสภาพฟื้นฟู และทุ่งหญ้าสลับไม้พุ่ม
               หรือไม้ละเมาะ

                       ข้อเสนอแนะการใช้พื้นที่ในเขตฟื้นฟูสภาพป่าธรรมชาติ
                       - ก าหนดมาตรการและแนวทางในการป้องกันมิให้ราษฎรบุกรุกพื้นที่ในเขตนี้เพื่อน ากลับมาใช้

               ด้านการเกษตร รวมทั้งป้องกันมิให้มีการเปิดพื้นที่ป่าเพื่อท าการเกษตรเพิ่ม

                       - ควรจัดท าแนวกันไฟเพื่อป้องกันไฟป่าที่อาจเกิดขึ้นได้จากธรรมชาติหรือจากกิจกรรมของมนุษย์
               เพื่อให้ป่าไม้มีการฟื้นตัวตามธรรมชาติที่สมบูรณ์


                                                                                                เขตนี้มี
               เนื้อที่ 31,428 ไร่ หรือร้อยละ 9.51 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า พื้นที่ในเขตนี้ปัจจุบันเป็นบริเวณที่มีการใช้ที่ดินเพื่อ

               การปลูกยางพารา มะม่วง ไม้ผลผสม และสับปะรด

                       - เขตพื้นที่ที่มีการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรที่มีแนวโน้มของการชะล้างพังทลายสูง (หน่วยแผนที่
               131) เขตนี้มีเนื้อที่ 72 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า พื้นที่ เขตนี้ปัจจุบันมีการใช้ที่ดิน เพื่อการ

               ปลูกยางพารา มะม่วง ไม้ผลผสม ซึ่งดินเป็นดินตื้นในสภาพพื้นที่มี ความลาดชัน   35-50 เปอร์เซ็นต์ หรือ

               บริเวณที่มีการปลูกสับปะรด ซึ่งดินเป็นดินลึกในสภาพ พื้นที่มีความลาดชัน 35-50 เปอร์เซ็นต์ และเป็น
               บริเวณซึ่งมีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายในระดับ รุนแรงถึงรุนแรงมากที่สุด

                       - เขตพื้นที่ที่มีการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรที่มีแนวโน้มของการชะล้างพังทลายปานกลาง (หน่วย
               แผนที่ 132) มีเนื้อที่ 6,912 ไร่ หรือร้อยละ 2.09 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า พื้นที่ เขตนี้ปัจจุบันมีการใช้ที่ดิน เพื่อ

               การปลูกยางพารา สับปะรด และมะม่วง ในสภาพพื้นที่มีความลาดชัน 12-35 เปอร์เซ็นต์ และเป็นบริเวณ

               ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายในระดับปานกลางถึงรุนแรง
                       - เขตพื้นที่ที่มีการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรที่มีแนวโน้มของการชะล้างพังทลายต่ า (หน่วยแผนที่

               133)  มีเนื้อที่ 24,434 ไร่ หรือร้อยละ 7.39 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า พื้นที่เขตนี้ ปัจจุบันมีการใช้ที่ดินเพื่อการปลูก
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96