Page 50 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             34



                   ของผิวหน้าดิน การไหลบ่าของน้ าผ่านผิวหน้าดิน ระดับน้ าใต้ดิน ความชื้นในดิน การระบายน้ าความยาก

                   ง่ายต่อการกักเก็บน้ าและการเขตกรรม ดังนั้น สภาพพื้นที่จึงเป็นปัจจัยที่ส าคัญอย่างหนึ่งที่ควบคุมลักษณะ
                   ของการใช้ประโยชน์ที่ดินซึ่งส่งผลต่อการชะล้างพังทลายของดินด้วย โดยเฉพาะพืชไร่เช่น สับปะรด ซึ่ง

                   เป็นพืชเศรษฐกิจที่ปลูกเป็นส่วนใหญ่และปลูกในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ท าให้ดินมีอัตราการถูกชะล้าง

                   พังทลายของดินสูง เนื่องจากปลูกในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงและมีสิ่งปกคลุมผิวหน้าดินน้อย ส่งผลท าให้
                   ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง รวมทั้งในพื้นที่มีการใช้เครื่องจักรกลในการไถพรวนดินบ่อยครั้ง เป็น

                   สาเหตุส าคัญที่ท าให้สมบัติดินทางกายภาพลดลง และส่งเสริมให้เกิดการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มสูงขึ้น
                       พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนหรือพื้นที่ลาดชันสูง (slope complex or steep slope) มีความลาดชัน

                   มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ เป็นพื้นที่ที่ยังไม่การจ าแนกประเภทดิน ซึ่งกระจายตัวเป็นส่วนใหญ่ของพื้นที่คิด

                   เป็นร้อยละ 64.02 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า ไม่เหมาะสมต่อการปลูกพืชทุกชนิด เนื่องจากมีอัตราการชะล้าง
                   พังทลายสูงมาก การจัดการดูแลรักษาล าบาก ท าให้เกิดการชะล้างพังทลายรุนแรงมาก แต่ถ้ามีความ

                   จ าเป็นต้องน าพื้นที่นี้มาใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร มีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพิจารณาถึงชนิด
                   พืชที่จะปลูกร่วมกับลักษณะของดินภายใต้การจัดการอนุรักษ์ดินและน้ าเป็นพิเศษหรือท าในระบบวน

                   เกษตร สภาพพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนหรือพื้นที่ลาดชันสูง สามารถแบ่งย่อยออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้

                       1) พื้นที่สูงชัน (steep slope) มีความลาดชัน 35-50 เปอร์เซ็นต์
                       2) พื้นที่สูงชันมาก (very steep slope) มีความลาดชัน 50-75 เปอร์เซ็นต์

                       3) พื้นที่สูงชันมากที่สุด (extremely steep slope) มีความลาดชันมากกว่า 75 เปอร์เซ็นต์

                   ตารางที่ 3-3  ทรัพยากรดิน พื้นที่ลุ่มน้ าคลองกุย อ าเภอกุยบุรี และอ าเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์


                                                                                               เนื้อที่
                     ล าดับ  สัญลักษณ์                      ค าอธิบาย
                                                                                             ไร่   ร้อยละ
                      1      Ly-slB    ชุดดินลาดหญ้า มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย           8,274    2.50

                                       ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
                      2      Ly-slC    ชุดดินลาดหญ้า มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย           7,444    2.25
                                       ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์

                      3     Ly-vd-slB   ดินลาดหญ้าที่เป็นดินลึกมาก มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย       1,355    0.41
                                       ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
                      4     Ly-vd-slC   ดินลาดหญ้าที่เป็นดินลึกมาก มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย       1,765    0.53
                                       ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์

                      5       Pr-slA   ชุดดินปราณบุรี มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย          3,087    0.93
                                       ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์
                      6       Pr-slB   ชุดดินปราณบุรี มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย         14,703    4.45

                                       ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55