Page 48 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 48
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
32
ช่วงน้ า
มากพอ ช่วงน้ ามากพอ
ช่วงขาดน้ า ช่วงขาดน้ า
ช่วงเพาะปลูกพืช
ภาพที่ 3-3 สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร (พ.ศ. 2533-2562) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรดินในระดับชุดดิน มาตราส่วน 1:25,000 ในลุ่มน้ าคลอง
กุย ซึ่งมีเนื้อที่ครอบคลุม 330,583 ไร่ สามารถจ าแนกเป็นหน่วยแผนที่ดินได้ 18 หน่วยแผนที่(ตารางที่
3-3 และภาพที่ 3-4) ประกอบด้วย ระดับหน่วยจ าแนก มี 4 ชุดดิน (8 หน่วยแผนที่) ดินคล้าย 2 ดิน (7
หน่วยแผนที่) คิดเป็นร้อยละ 32.85 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า (รายละเอียดชุดดินตามภาคผนวกที่ 1) พื้นที่ลาดชัน
เชิงซ้อน (SC) มี 1 หน่วยแผนที่ ซึ่งมีการกระจายตัวเป็นส่วนใหญ่ของพื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 64.01 ของเนื้อ
ที่ลุ่มน้ า พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) 1 หน่วยแผนที่ คิดเป็นร้อยละ 1.26 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า และพื้นที่
น้ า (W) 1 หน่วยแผนที่ คิดเป็นร้อยละ 1.86 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า
เมื่อพิจารณาการกระจายตัวของดิน จะเห็นว่า ชุดดินที่มีการกระจายตัวมากที่สุด คือ ชุดดินท่ายาง
(Ty) และดินคล้ายชุดดินท่ายาง (Ty variants) มีเนื้อที่ร้อยละ 18.89 ของเนื้อที่ลุ่มน้ ากระจายครอบคลุม
ในพื้นที่ต าบลหาดขาม อ าเภอกุยบุรี และต าบลไร่ใหม่ อ าเภอสามร้อยยอด ลักษณะดินเป็นดินตื้นถึงชั้น
เศษหินและหินพื้น มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทรายปนกรวด ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายปนกรวด
มาก พบในสภาพพื้นที่แบบลูกคลื่นลอนลาดถึงเนินเขา นอกจากนี้ ยังพบการกระจายตัวของชุดดินปราณบุรี
(Pr) ดินคล้ายชุดดินปราณบุรี (Pr variants) มีเนื้อที่ร้อยละ 8.06 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า ส่วนใหญ่พบกระจายตัว
ในพื้นที่ต าบลหาดขาม อ าเภอกุยบุรี ลักษณะดินเป็นดินลึก มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ดินล่างเป็น
ดินร่วนปนทรายถึงดินร่วนเหนียวปนทราย พบในสภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
เล็กน้อย ชุดดินลาดหญ้า (Ly) ดินคล้ายชุดดินลาดหญ้า (Ly variants) มีเนื้อที่ร้อยละ 5.69 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า