Page 112 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 112

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          89



                    จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่ ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วย ข้อมูลทุติยภูมิ

               และปฐมภูมิที่ได้จากการส ารวจภาคสนามเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันครอบคลุมประเด็นปัญหาของ
               สภาพพื้นที่อย่างแท้จริง ได้แก่ ข้อมูลการชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรดิน (คุณสมบัติของ

               ดิน, สภาพดินปัญหา) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน ระดับการเปลี่ยนแปลงของการใช้ที่ดินด้านทรัพยากรน้ า

               สภาพภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันในด้านกายภาพ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม ผ่าน
               กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน และการรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงานในระดับพื้นที่ เพื่อน าข้อมูลมา

               ประกอบการวิเคราะห์และจัดท าแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟื้นฟูพื้นที่
               เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ให้มีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลถูกต้องตามสมรรถนะและ

               ศักยภาพของที่ดิน และให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้เกิดการเรียนรู้น าไปสู่การจัดการที่ถูกต้องเหมาะสมและให้ได้

               เครื่องมือในการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน เพื่อลดอัตราการชะล้างพังทลายและการกัดเซาะหน้าดิน การ
               ตกตะกอน และปริมาณสารพิษตกค้างที่เป็นผลมาจากการใช้ที่ดินบนพื้นที่ลุ่มน้ าให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน

               เกษตรกรและชุมชนสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม จึงมีการก าหนดแนวทางและ
               มาตรการที่มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา แผนการใช้ที่ดิน บนพื้นฐานการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย

                    1. มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน แบ่งตามระดับความ

               รุนแรงของการชะล้าง ดังนี้
                       1.1 พื้นที่ที่มีการชะล้างรุนแรงมาก ก าหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ

               (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace)

               คันดินเบนน้ า (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางล าเลียง (farm road) คูรับน้ าขอบเขา (hillside
               ditch) ทางระบายน้ า (waterways) ฝายชะลอน้ า (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond)

                       1.2 พื้นที่ที่มีการชะล้างปานกลาง ก าหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ
               (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace)

               คันดินเบนน้ า (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางล าเลียง (farm road) คูรับน้ าขอบเขา (hillside

               ditch) ทางระบายน้ า (waterways) ฝายชะลอน้ า (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond)
                       1.3 พื้นที่ที่มีการชะล้างรุนแรงน้อย ก าหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ

               (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace)
               คันดินเบนน้ า (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางล าเลียง (farm road) คูรับน้ าขอบเขา (hillside

               ditch) ทางระบายน้ า (waterways) ฝายชะลอน้ า (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) การไถ

               พรวนดินล่าง (sub soiling) การปรับระดับ และปรับรูปแปลงนา
                    2. มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ดินที่พบส่วนใหญ่มีปัญหาดินตื้นและ

               มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า จึงก าหนดมาตรการ คือ ปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชปุ๋ยสด การใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก

               และปุ๋ยชีวภาพเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ
                    3. มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อพัฒนาแหล่งน้ า พื้นที่ทางการเกษตร พบปัญหาการขาด

               แคลนน้ าส าหรับพื้นที่เกษตรกรรรม จึงก าหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน คือ
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117