Page 108 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 108

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          87



               พังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นเกษตรกรรมครอบคลุมทั้งประเทศ

                    ส าหรับแผนปฏิบัติการระยะ 4 ปี เป็นการจัดกลุ่มของพื้นที่ในลุ่มน้ าตามล าดับความส าคัญของ
               โครงการตามปัจจัยต่าง ๆ เพื่อก าหนดกรอบพื้นที่ด าเนินการตามปีงบประมาณ และค าแนะน าในการใช้

               มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าด้านต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน ใน

               ระยะ 1 ปี ตามแผนปฏิบัติการรายปีนั้น ซึ่งจะต้องน าพื้นที่ด าเนินการและค าแนะน าในการบริหารจัดการ
               จากแผนปฏิบัติการระยะ 4 ปี ไปศึกษาความเหมาะสมของโครงการ  ที่จะด าเนินการในพื้นที่ลุ่มน้ า โดยมี

               การศึกษาในด้านต่าง ๆ ควบคู่กันไป ทั้งด้านการออกแบบมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าด้านต่าง ๆ โดย
               จัดการพื้นที่ตามสภาพความรุนแรงของปัญหาและน ามาตรการการป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดินตาม

               สภาพปัญหาของพื้นที่เฉพาะพื้นที่ไป เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานของเกษตรกร ด้านความคุ้มค่าทาง

               เศรษฐศาสตร์ ผลประโยชน์กับเกษตรกรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ผลกระทบของพื้นที่ที่ด าเนิน
               โครงการ ในกรณีที่มีโครงการและกรณีที่ไม่มีโครงการ โดยมีแนวทางในการบริหารทรัพยากรให้ได้

               ประโยชน์สูงสุด เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ าที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และการใช้ประโยชน์
               ที่ดิน โดยน ามาตรการต่าง ๆ มาปรับใช้ทั้งในทางพืชและทางวิศวกรรม โดยในการใช้มาตรการทาง

               วิศวกรรมนั้นสามารถใช้มาตรการด้านต่าง ๆ ตามมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน มาใช้ในการออกแบบ

               รายละเอียด และจะต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ. วิศวกรรมด้วย เพื่อควบคุมและจัดการพื้นที่ในการลดการชะ
               ล้างพังทลาย และฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อเป็นต้นแบบในการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ าใน

               พื้นที่อื่น ๆ ตามแผนปฏิบัติการรายปี ต่อไป นอกจากนี้ ยังมีการติดตามและประเมินผลโครงการ เพื่อแก้ไข

               และปรับปรุงการด าเนินการตามมาตรการต่าง ๆ ที่ด าเนินการลงไปในพื้นที่ให้เหมาะสมมากขึ้น
                    โดยการด าเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ในพื้นที่นอกจากจะมีการด าเนินการตามแนวทางของกรมพัฒนา

               ที่ดินแล้วยังสามารถมีการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ
               กระทรวงอื่น เช่น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทยกระทรวงการ

               อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น ในด้านการร่วมงานในพื้นที่ป่า

               ไม้ และอุทยาน การส่งเสริมอาชีพ การถ่ายทอดความรู้ และสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่ สร้าง
               แรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนการใช้ที่ดิน แรงจูงใจในการน ามาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าเข้าไปใช้ใน

               พื้นที่ของเกษตรกร
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113