Page 107 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 107

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             86








                                  5




















                       คณะท างานจัดท าแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่

                   เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า พื้นที่ลุ่มน้ าคลองกุย อ าเภอกุยบุรี และอ าเภอสามร้อยยอด
                   จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้จัดท าแผนการบริหารจัดการทรัพยากรดิน และแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการ

                   ชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ลุ่มน้ าคลองกุย ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2563-2566) และ
                   ระยะ 1 ปี เพื่อเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่

                   เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ให้สามารถน าไปสู่การวางแผน การก าหนดมาตรการและ

                   บริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรมที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินและพื้นที่ดินเสื่อมโทรม
                   น าไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดสมดุล เป็นธรรม และยั่งยืน รวมทั้งสามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้

                   อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ ที่สอดคล้องกับประเด็นปัญหาและบูรณาการการ

                   ด าเนินงานของหน่วยงาน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง
                       การบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ าได้น าหลักการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า การบริหาร

                   จัดการเชิงระบบนิเวศที่ต้องด าเนินการเพื่อให้เกิดความสมดุลของระบบนิเวศ มีการกระจายการถือครอง

                   อย่างเป็นธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการให้การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นไปอย่าง
                   เหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน มีความเชื่อมโยงกับการจัดการทรัพยากรน้ า ป่าไม้และชายฝั่ง ให้เกิด

                   ประโยชน์สูงสุดทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และความมั่นคงของประเทศ โดยให้
                   ค านึงถึงสิทธิในทรัพย์สินของประชาชน หลักธรรมาภิบาล การรับรู้ข้อมูลข่าวสารการกระจายอ านาจ การ

                   มีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชนและภูมิสังคม ดังนั้น เพื่อให้แผนบริหารจัดการแปลงไปสู่การปฏิบัติ จึงได้

                   จัดท าแผนปฏิบัติการ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะ 4 ปีและระยะ 1 ปี โดยน าข้อมูลผลการประเมิน
                   การสูญเสียดิน 3 ระดับ (ระดับมาก ปานกลาง และน้อย) ข้อมูลสภาพดินปัญหาของพื้นที่ และการขาด

                   แคลนน้ า มาใช้ในการบริหารจัดการสู่การก าหนดมาตรการและกิจกรรมในระดับพื้นที่ เพื่อเป็นต้นแบบ
                   การบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ าในพื้นที่อื่น ๆ ครอบคลุมการแก้ไขและป้องกันการชะล้าง
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112