Page 114 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 114

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          91








                           ในการบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์ดินและน้ า จะพิจารณาการบริหารจัดการเป็นลุ่มน้ า ดังนั้น
               จึงได้น าผลจากการคัดเลือกพื้นที่ด าเนินการจากการจัดล าดับความส าคัญมาพิจารณาเพื่อก าหนดพื้นที่

               และมาตรการ โดยแบ่งเป็นลุ่มน้ าขนาดย่อย ๆ เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงานและการติดตาม
               ประเมินผลตัวชี้วัด โดยในปีงบประมาณ 2563 สามารถด าเนินการได้ในพื้นที่รับน้ า 2  ล าน้ าด้วยกัน คือ

               (1) พื้นที่คลองกุย และ (2) พื้นที่ห้วยแห้ง ซึ่งมีขนาดพื้นที่รวม 10,000 ไร่ โดยก าหนดมาตรการด้านการ

               จัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ประเภทที่ท าในพื้นที่ถือครองของเกษตรกรที่มีระดับการชะล้างพังทลายสูง
               และปานกลาง ได้แก่ การไถพรวน และปลูกพืชตามแนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตาม

               แนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace bench terrace) คันดินเบนน้ า (division terrace) แนว
               หญ้าแฝก ทางล าเลียง (farm road) คูรับน้ าขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้ า (waterways) ฝาย

               ชะลอน้ า (check dam weir) บ่อดักตะกอน (pond) และระบบให้น้ าแบบ micro irrigation และระบบ

               อนุรักษ์ดินและน้ าที่ต้องท าในพื้นที่สาธารณะ ได้แก่ อ่างเก็บน้ า สระเก็บน้ า ฝายทดน้ า คลองส่งน้ า และ
               ระบบส่งน้ าด้วยท่อ



























               ภาพที่ 5-1  พื้นที่ลุ่มน้ าเป้าหมายในแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่

                          เกษตรกรรม ลุ่มน้ าคลองกุย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ระยะ 1 ปี
                           โดยจะได้น ามาตรการดังกล่าวไปใช้ในการออกแบบเฉพาะพื้นที่ และที่จุดรวมน้ า (outlet)
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119