Page 58 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 58

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          38


               ของเนื้อที่ทั้งหมด และดินในกลุ่มวัตถุต้นก าเนิดดินที่พบบริเวณที่ราบตะกอนน้ าพามาทับถมของวัสดุเนื้อ

               หยาบ เป็นดินลึกที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว ปริมาณอินทรียวัตถุต่ า ได้แก่ ชุดดินศรีขรภูมิ (Sik) มีค่า K-
               factor สูงที่สุดในค่า K-factor ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ค่า K-factor = 0.36) คิดเป็นร้อยละ 8.47

               ของเนื้อที่ทั้งหมด ในพื้นที่ความลาดชัน 5-12 % ลักษณะเป็นลูกคลื่นลอดลาด และมีชนิดวัตถุต้นก าเนิด

               ดินเกิดจากตะกอนล าน้ าหรือวัตถุต้นก าเนิดที่ผุพังสลายตัวอยู่กับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแล้ว
               เคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ เนื้อดินเป็นพวกดินร่วนหยาบ ได้แก่ ชุดดินห้วยแถลง(Ht-slC)

               มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 5-12 %ผลรวมปริมาณร้อยละของทรายแป้งและปริมาณ
               ร้อยละของทรายละเอียดมีค่าสูง ส่งผลให้ค่า K-factor ต่ าและปริมาณร้อยละของอินทรียวัตถุในดินต่ า

               ส่งผลให้ค่า K-factor ต่ า และยังพบว่าดินในกลุ่มวัตถุต้นก าเนิดดินพวกหินตะกอนล าน้ าเนื้อหยาบ

               มีแนวโน้มให้ค่า K-factor ต่ าที่สุดในพื้นที่ และดินในกลุ่มวัตถุต้นก าเนิดดินที่พบบริเวณที่ราบตะกอนน้ าพา
               มาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ เป็นดินลึกที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว ได้แก่ ชุดดินศรีขรภูมิ (Sik-silA)

               เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง และดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง มีค่า K-factor ค่อนข้าง
               สูงในพื้นที่

                     นอกจากปัจจัยด้านลักษณะสมบัติของดินแล้ว ปัจจัยด้านสภาพพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดินก็มี

               ผลต่อการชะล้างพังทลายของดิน โดยเฉพาะความลาดชันของพื้นที่จะมีผลโดยตรงต่อการชะล้างพังทลาย
               ของผิวหน้าดิน การไหลบ่าของน้ าผ่านผิวหน้าดินระดับน้ าใต้ดิน ความชื้นในดิน การระบายน้ า ความยาก

               ง่ายต่อการกักเก็บน้ าและการเขตกรรม ดังนั้น สภาพพื้นที่จึงเป็นปัจจัยที่ส าคัญอย่างหนึ่งที่ควบคุมลักษณะ

               ของการใช้ประโยชน์ที่ดินซึ่งส่งผลต่อการชะล้างพังทลายของดินด้วย โดยเฉพาะพืชไร่ เช่น มันส าปะหลัง
               และอ้อย ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่ปลูกเป็นส่วนใหญ่และปลูกในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ท าให้ดินมีอัตราการ

               ถูกชะล้างพังทลายของดินมากขึ้น เนื่องจากปลูกในพื้นที่ที่มีความลาดชันและมีสิ่งปกคลุมผิวหน้าดินน้อย
               ส่งผลท าให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง รวมทั้งในพื้นที่มีการใช้เครื่องจักรกลในการไถพรวนดิน

               บ่อยครั้ง เป็นสาเหตุส าคัญที่ท าให้สมบัติดินทางกายภาพลดลงและส่งเสริมให้เกิดการชะล้างพังทลายของ

               ดินเพิ่มสูงขึ้น (ตารางที่ 3-3 และภาพที่ 3-4)

               ตารางที่ 3-3  ทรัพยากรดินในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยศาลจอด อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร

                                                                                           เนื้อที่
                 ล าดับ  สัญลักษณ์                    ค าอธิบาย
                                                                                        ไร่   ร้อยละ

                  1     Ht-slB  ชุดดินห้วยแถลงมีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาด   16,375  17.09
                                 ชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์

                  2     Ht-slC  ชุดดินห้วยแถลงมีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาด    4,488     4.68

                                 ชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์
                  3      Nbn-    ดินคล้ายชุดดินหนองบุญมากที่มีศิลาแลงอ่อนมีเนื้อดินบนเป็น  2,786   2.91

                        pic-slA  ดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63