Page 56 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 56

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          36



                 400
                                                                                    ปริมาณน้ าฝน
                 350
                                                                                    การระเหยและคายน้ า
                 300
                                                                                    0.5 การระเหยและคายน้ า

                 250

                 200

                 150


                 100

                  50

                   0
                       ม.ค.   ก.พ.  มี.ค. เม.ย. พ.ค.   มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.   ก.ย.  ต.ค.   พ.ย.  ธ.ค.
                                   ช่วงขาดน้ า            ช่วงน้ ามากพอ             ช่วงขาดน้ า

                                                         ช่วงเพาะปลูกพืช

               ภาพที่ 3-3  สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร จังหวัดสกลนคร ปี พ.ศ. 2533-2562
               หมายเหตุ: *จากการค านวณโดยโปรแกรมCropwat for Windows Version 8.0






                     จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรดินในระดับชุดดิน มาตราส่วน 1:25,000 ในพื้นที่ลุ่มน้ า
               ห้วยศาลจอด ซึ่งมีเนื้อที่ครอบคลุม 95,844 ไร่ สามารถจ าแนกเป็นหน่วยแผนที่ดินได้ 19 หน่วยแผนที่

               (ตารางที่ 3-3 และภาพที่ 3-4) ประกอบด้วย ระดับหน่วยจ าแนก มี 16 ชุดดิน (16 หน่วยแผนที่) ดินคล้าย

               5 ดิน (5หน่วยแผนที่) คิดเป็นร้อยละ 86.54 ของเนื้อที่ทั้งหมด (รายละเอียดชุดดินตามภาคผนวกที่ 1)
               ที่ดินดัดแปลง (ML) มี 1 หน่วยแผนที่ ซึ่งมีการกระจายตัวเป็นส่วนใหญ่ของพื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 0.11

               ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง คิดเป็นร้อยละ 10.94 ของเนื้อที่ทั้งหมด และพื้นที่น้ า (W)

               1 หน่วยแผนที่ คิดเป็นร้อยละ 2.42 ของเนื้อที่ทั้งหมด
                     เมื่อพิจารณาการกระจายตัวของดิน จะเห็นว่า ชุดดินที่มีการกระจายตัวมากที่สุด คือ ชุดดินโพน

               พิสัย (Pp) และดินคล้ายชุดดินโพนพิสัย (Pp varients) มีเนื้อที่ร้อยละ 28.60 ของเนื้อที่ทั้งหมด กระจาย
               ครอบคลุมในพื้นที่ต าบลโคกสี ต าบลโพนสูง ต าบลบ้านถ่อน และต าบลสว่างแดนดิน ลักษณะเป็นดินตื้นถึง

               ชั้นกรวดลูกรัง ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ดินล่างตอนบนเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายถัดไปเป็นดินร่วน

               เหนียวปนทรายปนกรวดมาก ส่วนดินล่างภายใน 50-100 เซนติเมตร เป็นดินร่วนเหนียวปนกรวดมาก
               ถัดไปเป็นชั้นดินเหนียวตลอด พบในสภาพพื้นที่แบบลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนลาด

               นอกจากนี้ ยังพบการกระจายตัวของชุดดินห้วยแถลง (Ht) ชุดดินพระทองค า (Ptk) ชุดดินหนองบุญนาก
               (Nbn) ชุดดินศรีขรภูมิ (Sik) ชุดดินโนนแดง (Ndg) และดินคล้ายชุดดินร้อยเอ็ดที่มีเนื้อหยาบ (Re-col)
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61