Page 54 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          34





                     พื้นที่โครงการอยู่ในพื้นที่ตอนกลางฝั่งด้านตะวันตกของจังหวัดสกลนครติดกับจังหวัดอุดรธานี

               ได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้น้อย ส่วนมากเป็นฝนที่เกิดจากร่องความกดอากาศต่ าพายุ
               ดีเปรสชันจากอ่าวตังเกี๋ยและทะเลจีนใต้ที่เคลื่อนผ่านเข้ามาระหว่างเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน ส่งผล

               ให้มีลักษณะอากาศหนาวอย่างชัดเจน กระแสลมที่เย็นและแห้ง หย่อมความกดอากาศสูงที่แผ่ปกคลุมมา
               จากประเทศจีน ส่งผลกระทบต่อดินฟ้าอากาศในจังหวัดสกลนครมาก เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศเป็น

               แอ่งกระทะ และมีฉากรับลมเป็นทิวเขาภูพาน ประกอบกับเมื่อมีลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจาก
               ประเทศจีนที่พัดเข้ามา เมื่อพัดผ่านหนองหานน้ าจะเป็นตัวลดอุณหภูมิลง จึงท าให้สกลนครมีอากาศที่

               หนาวเย็นกว่าพื้นที่อื่น
                     จากข้อมูลอุตุนิยมวิทยาของกรมอุตุนิยมวิทยา มีสถานีตรวจอากาศในพื้นที่ ได้แก่ สถานีตรวจวัด

               อากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาอ าเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โดยแบ่งรายละเอียดของลักษณะภูมิอากาศของ
               สถานีตรวจอากาศ ช่วง 30 ปี คือ (ปี พ.ศ. 2533-2562) รายละเอียด ดังนี้

                     1) อุณหภูมิ

                     จังหวัดสกลนคร มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 26.4 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน
               35.3 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ าสุดในเดือนธันวาคม 17.0 องศาเซลเซียส

                     2) ปริมาณน้้าฝน
                     จังหวัดสกลนคร มีปริมาณน้ าฝนรวมตลอดปี 1,687.0 มิลลิเมตร โดยมีปริมาณน้ าฝนสูงสุดในเดือน

               กรกฎาคม 345.6 มิลลิเมตร และปริมาณน้ าฝนต่ าสุดในเดือนมกราคม 6.0 มิลลิเมตร

                     3) ปริมาณน้้าฝนใช้การได้ (Effective Rainfall : ER)
                     จังหวัดสกลนคร ปริมาณน้ าฝนใช้การได้ คือ ปริมาณน้ าฝนที่เหลืออยู่ในดิน ซึ่งพืชสามารถน าไปใช้

               ประโยชน์ได้ภายหลังจากมีการไหลซึมลงไปในดินจนดินอิ่มตัวด้วยน้ าแล้วไหลบ่าออกมากักเก็บในพื้นดิน

               จังหวัดสกลนคร มีปริมาณน้ าฝนใช้การได้ 1,004.8 มิลลิเมตร ในเดือนกรกฎาคม มีปริมาณน้ าฝนใช้การ
               ได้มากที่สุด 159.6 มิลลิเมตร และเดือนมกราคมมีปริมาณน้ าฝนใช้การได้น้อยที่สุด คือ 5.9 มิลลิเมตร

                     4) ความชื้นสัมพัทธ์และศักยภาพการคายระเหยน้้า

                     จังหวัดสกลนคร พบว่า มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปี 73.3 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณการคายระเหย
               เฉลี่ยตลอดปี 1,292.2 มิลลิเมตร ปริมาณการคายระเหยสูงสุด 133.8 มิลลิเมตร ในเดือนเมษายน ปริมาณ

               การคายระเหยต่ าสุด 83.1 มิลลิเมตร ในเดือนธันวาคม
                     5) การวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลที่เหมาะสมส้าหรับปลูกพืช

                     การวิเคราะห์ช่วงฤดูเพาะปลูกพืชเพื่อหาช่วงเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชโดยใช้ข้อมูลปริมาณ

               น้ าฝนเฉลี่ย และค่าศักยภาพการคายระเหยน้ าของพืชรายเดือนเฉลี่ย (Evapotranspiration : ETo)
               ซึ่งค านวณและพิจารณาจากระยะเวลาช่วงที่เส้นน้ าฝนอยู่เหนือเส้น 0.5 ETo ถือเป็นช่วงระยะเวลาที่

               เหมาะสมในการปลูกพืช จากการวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลที่เหมาะสมจากการปลูกพืชเศรษฐกิจจังหวัด
               สกลนคร สามารถสรุปได้ดังนี้
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59