Page 57 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 57

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                             37


                   มีเนื้อที่ร้อยละ 21.77 14.47 11.24 8.47 5.49 และ 2.12 ตามล าดับ ส่วนใหญ่พบกระจายตัวในพื้นที่

                   ต าบลโคกสี ต าบลโพนสูง ต าบลบ้านถ่อน และต าบลสว่างแดนดิน ดินมีลักษณะเป็นดินลึกปานกลางถึง
                   ลึกมาก สภาพพื้นที่แบบลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนลาดดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย

                   ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย บางพื้นที่เป็นดินร่วนเหนียวปนทราย และบางพื้นที่ดินล่างเป็น

                   ดินร่วนเหนียวปนทรายปนกรวดมาก ดินมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดการชะล้างพังทลาย โดยเฉพาะดินที่มี
                   ลักษณะเนื้อดินบนและดินล่างต่างกัน ดินตื้นที่มีเนื้อดินเป็นดินค่อนข้างเป็นทรายควรมีมาตรการอนุรักษ์

                   ดินและน้ าที่เหมาะสม เช่น การท าคันดินกั้นน้ า ท าขั้นบันไดและปลูกพืชตามแนวระดับขวางความลาดชัน
                   ของพื้นที่ เพื่อชะลอความเร็วของน้ าที่ไหลบ่าผ่านผิวดิน ช่วยลดการชะล้างของหน้าดินและน้ าซึมผ่านลงไป

                   ในดินชั้นล่างได้มากขึ้น ท าให้ความชื้นในดินมากขึ้น นอกจากนี้ ควรปลูกพืชคลุมดินเพื่อช่วยรักษาความชื้น

                   ของดินไว้และยังช่วยลดการชะล้างพังทลายของดินได้อีกด้วย
                         เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยด้านลักษณะของดินที่มีผลต่อการชะล้างพังทลายของดิน ซึ่งดินแต่ละชนิดจะ

                   ทนต่อการชะล้างพังทลายที่แตกต่างกันในสภาพแวดล้อมที่คล้ายคลึงโดยเฉพาะค่าปัจจัยความคงทนต่อ
                   การถูกชะล้างพังทลายของดิน (K-factor) ที่สามารถน าไปประเมินการสูญเสียดินในสมการการสูญเสียดิน

                   สากล (USLE) จะเห็นว่า ปัจจัยสมบัติดินที่มีผลต่อค่าปัจจัยความคงทนของดินได้แก่ (1) ผลรวมปริมาณ

                   ร้อยละของทรายแป้งและปริมาณร้อยละของทรายละเอียดมาก (% silt + % very fine sand) (2)
                   ปริมาณร้อยละของทราย (%sand)(3) ปริมาณร้อยละของอินทรียวัตถุในดิน (% organic matter)

                   (4) โครงสร้างของดิน (soil structure) และ (5) การซาบซึมน้ าของดิน (permeability) (กรมพัฒนาที่ดิน,

                   2545) จากการศึกษาค่าปัจจัยความคงทนของดินต่อการชะล้างพังทลาย (K-factor) ดินในประเทศไทย
                   มีค่า K อยู่ระหว่าง 0.04-0.56 โดยกลุ่มชุดดินที่ 22 23 24 41 42 และ 43 ซึ่งมีเนื้อดินบนส่วนใหญ่เป็น

                   ดินทรายร่วน มีค่า K ต่ าสุด คือ อยู่ระหว่าง 0.04 – 0.08 และกลุ่มชุดดินที่ 33 ซึ่งมีเนื้อดินบนส่วนใหญ่
                   เป็นดินร่วนปนทรายแป้ง มีค่า K สูงสุด คืออยู่ระหว่าง 0.37 – 0.56 ขณะที่หน่วยธรณีวิทยาพวกหินทราย

                   มีค่า K ต่ าสุด คือ อยู่ระหว่าง 0.04 – 0.08 และหน่วยธรณีวิทยาพวกหินดินดานและหินอัคนี มีค่า K

                   ค่อนข้างสูง คืออยู่ระหว่าง 0.24-0.30 (กองส ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2562) จากลักษณะและ
                   สมบัติดินดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า ดินที่มีค่า K-factor ต่ า (ง่ายต่อการกร่อน) จะมีแนวโน้มเกิดการชะล้าง

                   พังทลายของดินได้สูง ส่วนดินที่มีค่า K-factor สูง (ยากต่อการกร่อน) จะมีแนวโน้มเกิดการชะล้างพังทลาย
                   ของดินได้ต่ า ดินที่พบส่วนใหญ่ของพื้นที่อยู่ในกลุ่มดินตื้นถึงกรวดลูกรัง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย

                   ปนกรวดลูกรัง ปริมาณอินทรียวัตถุต่ า ได้แก่ ชุดดินโพนพิสัย(Pp) และดินคล้ายชุดดินโพนพิสัยที่มีจุดประสี

                   เทา (Pp-gm) คิดเป็นร้อยละ 28.60 ของเนื้อที่ทั้งหมด มีแนวโน้มค่าปัจจัยความคงทนของดิน (K-factor)
                   ค่อนข้างต่ า (ค่า K-factor = 0.24) เท่ากับดินในกลุ่มวัตถุต้นก าเนิดดินพวกหินตะกอนเนื้อหยาบซึ่งมีเนื้อ

                   ดินเป็นกลุ่มดินร่วนหยาบและปริมาณอินทรียวัตถุต่ า ได้แก่ ชุดดินห้วยแถลง (Ht) และชุดดินพระทองค า

                   (Ptk) มีค่า K-factor ค่อนข้างต่ า (ค่า K-factor = 0.24) คิดเป็นร้อยละ 21.77 และ14.47 ของเนื้อที่
                   ทั้งหมด ดินในกลุ่มดินร่วนละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนล าน้ า ปริมาณอินทรียวัตถุต่ า ได้แก่ ชุดดิน

                   หนองบุญนาค (Nbn) มีค่า K-factor ค่อนข้างต่ า (ค่า K-factor = 0.26)คิดเป็นร้อยละ 11.24
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62