Page 8 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 8
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
และสังคม โดยน าข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์และจัดท าแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลาย
ของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ทั้งนี้ เพื่อให้มีประสิทธิภาพเกิด
ประสิทธิผล ถูกต้องตามสมรรถนะและศักยภาพของที่ดิน และให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้เกิดความตระหนักและ
การเรียนรู้น าไปสู่การจัดการที่ถูกต้อง พร้อมทั้งการประเมินสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง โดยการติดตาม
และประเมินผลตามตัวชี้วัด เพื่อให้ทราบผลส าเร็จจากการด าเนินงานด้านการลดอัตราการชะล้างพังทลาย
ของดิน และด้านเศรษฐกิจสังคมของชุมชนบริเวณบนพื้นที่ลุ่มน้ า สู่การพัฒนาระบบการบริหารจัดการด้าน
การอนุรักษ์ดินและน้ า ให้เกษตรกรและชุมชนสามารถใช้ที่ดินได้อย่างยั่งยืน
การด าเนินงานตามแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่ เกษตรกรรม
ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า มีกลไกการขับเคลื่อนการด าเนินงานในรูปแบบ คณะกรรมการและ
คณะท างาน ในการจัดท าต้นแบบแผนการบริหารจัดการโครงการจัดการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู
พื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ส าหรับขับเคลื่อนการด าเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและ
น้ าให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และแผน
แม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ า ดังนั้น เพื่อให้แผนบริหารจัดการเกิดผลสัมฤทธิ์ในทางปฏิบัติ บรรลุ
วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้ จึงจ าเป็นต้อง ได้รับการขับเคลื่อนและผลักดันจากทุกภาคส่วน
และให้เกิดการบูรณาการทุกระดับผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อให้การบริหารจัดการทรัพยากรดิน
และน้ า มีเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกันควรมีแนวทางการด าเนินงาน ดังนี้
เพื่อ
ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ให้สามารถน าไปสู่การวางแผน การก าหนด
มาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรมที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดิน และพื้นที่ดิน
เสื่อมโทรม
โดยน าแนวทางการปฏิบัติงานไปก าหนดเป็นแผนงานโครงการ และก าหนดเป็นข้อตกลงการท างาน
ระหว่างหน่วยงาน เน้นการท างานเชิงบูรณาการ เพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้บรรลุเป้าหมายที่ก าหนดไว้
โดยจัดตั้งคณะท างานติดตาม
ประเมินผลที่มีกลไกและเครือข่ายการด าเนินงานทั้งหน่วยงานที่ปฏิบัติงานในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
เชื่อมโยงการประเมินผลทุกมิติ ประกอบด้วย มิติทางกายภาพหรือสิ่งแวดล้อม มิติสังคม และ มิติเศรษฐกิจ
ที่สามารถสะท้อนผลสัมฤทธิ์ของงานได้ชัดเจน จนน าไปสู่การปรับปรุงพัฒนาแผนการด าเนินงานโครงการ
ให้เกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ