Page 7 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 7

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                   บ้านหนองแต้ว บ้านสระจระเข้ และบ้านโคกพรม บ้านใหม่ ต าบลโนนไทย ซึ่งในแต่ละสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่

                   มีลักษณะใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตามเพื่อให้การด าเนินงานสอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่และความ
                   ต้องการของชุมชน สามารถน ามาจัดท าแผนการด าเนินงานแบ่งออกเป็น 3 ระยะ โดยมีเป้าหมายไม่น้อย

                   กว่า 10,000 ไร่ ได้แก่ ระยะที่ 1 (ปี 2563) ด าเนินการออกแบบผังรวมพร้อมกับจัดท าแผนบริหารโครงการ

                   ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินพร้อมมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า ระยะที่ 2 (ปี 2564)
                   ด าเนินการออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินพร้อมแบบก่อสร้าง

                   และการประเมินราคา ระยะที่ 3 (ปี 2565) ด าเนินการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าตามแบบและพื้นที่
                   เป้าหมายด าเนินการ โดยก าหนดให้มีแนวทางและมาตรการที่มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา แผนการ

                   ใช้ที่ดินบนพื้นฐานการมีส่วนร่วม ดังนี้

                                                                                              แบ่งตามระดับ
                   ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน ในพื้นที่ที่มีระดับปานกลาง ก าหนดมาตรการในการไถพรวน

                   และปลูกพืชตามแนวระดับ การยกร่องตามแนวระดับ แนวหญ้าแฝก ทางล าเลียง ทางระบายน้ า
                   ฝายชะลอน้ า และบ่อดักตะกอนดิน ส่วนระดับรุนแรงน้อย มีมาตรการเพิ่มเติมตามลักษณะภูมิประเทศ คือ

                   การไถพรวนดิน การปรับระดับ และปรับรูปแปลงนา

                                                                                  ส่วนใหญ่มีปัญหาดินเค็มและ
                   ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ก าหนดมาตรการโดยเน้นการเพิ่มอินทรียวัตถุด้วยการปลูกพืชคลุมดิน

                   ปลูกพืชปุ๋ยสด การใช้ปุ๋ยคอก น้ าหมักและปุ๋ยหมัก

                                                                              ในพื้นที่ทางการเกษตรซึ่งมีสภาพ
                   ปัญหาการขาดแคลนน้ า จึงก าหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและสอดคล้องตามความต้องการของชุมชน

                   คือ สระเก็บน้ า ฝายทดน้ า การปรับปรุงล าน้ า คลองส่งน้ า ระบบส่งน้ าด้วยท่อ และระบบให้น้ าแบบ micro
                   irrigation








                       ต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ าเชิงบูรณาการ เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
                   เป็นรูปแบบการบริหารจัดการลุ่มน้ าเชิงระบบ ครอบคลุมทุกมิติแบบองค์รวม ได้แก่ มิติทางกายภาพ สังคม

                   เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยก าหนดทิศทางจากสภาพปัญหาเป็นตัวน า ความรู้ทางวิชาการที่หลากหลาย

                   สาขาผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์จากงานวิจัย และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน การอนุรักษ์
                   ดินและน้ า ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ประกอบด้วย การวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่

                   คัดเลือกวิธีการประเมินปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบันครอบคลุม

                   ประเด็นปัญหาของสภาพพื้นที่อย่างแท้จริง ได้แก่ ข้อมูลการชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลด้านทรัพยากร
                   ดิน ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน ระดับการเปลี่ยนแปลงของการใช้ที่ดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรน้ า สภาพภูมิ

                   ประเทศ และสิ่งแวดล้อม ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันในด้านกายภาพ เศรษฐกิจ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12