Page 5 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 5

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน













                          จากการศึกษาและส ารวจข้อมูลดินในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา เพื่อจัดท า

                   ฐานข้อมูลและประเมินสถานภาพทรัพยากรดิน โดยเน้นด้านการชะล้างพังทลายของดิน ทั้งนี้เพื่อน าไปสู่
                   การวิเคราะห์แนวทางการใช้ที่ดินด้านการเกษตร และก าหนดมาตรการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของ

                   ดินและอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม ผลการจ าแนกสภาพปัญหาของดินหรือข้อจ ากัดต่อการใช้ที่ดินด้าน
                   การเกษตร แบ่งเป็น 5 ประเภทหลัก ได้แก่ (1) กลุ่มดินเค็ม เป็นดินเค็มด่างมีเกลือโซเดียมสูงซึ่งมีผลต่อ

                   การเจริญเติบโตของพืช มีโครงสร้างไม่เหมาะสม มีเนื้อที่ประมาณ 60,540 ไร่ หรือร้อยละ 56.47

                   (2) กลุ่มดินลึกปานกลางบนที่ดอน ที่มีสมบัติทางกายภาพของดินไมดี ดินค่อนขางแนนทึบ โครงสร้าง
                   ไมเหมาะสมอาจขาดแคลนน้ าไดในชวงฤดูเพาะปลูก มีเนื้อที่ประมาณ 23,845 ไร่ หรือร้อยละ 22.24

                   (3) กลุ่มดินลึกปนทรายบนที่ดอน มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ าในฤดูเพาะปลูก เนื้อที่

                   ประมาณ 10,926 ไร่ หรือร้อยละ 10.19 (4) กลุ่มดินเหนียวในที่ลุ่ม สมบัติทางกายภาพของดินไมดี
                   ดินค่อนข้างแนนทึบ โครงสรางไมเหมาะสม น้ าซึมผานไดชา อาจขาดแคลนน้ าไดในชวงฤดูเพาะปลูก เนื้อที่

                   ประมาณ 6,885 ไร่ หรือร้อยละ 6.42 (5) กลุ่มดินปนทรายในที่ลุ่ม ความอุดมสมบูรณค่อนขางต่ า เสี่ยงต่อ
                   การขาดน้ าในฤดูเพาะปลูก เนื้อที่ประมาณ 3,770 ไร่ หรือร้อยละ 3.52 นอกจากนั้นเป็นพื้นที่ชุมชน

                   แหล่งน้ าและเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ




                          ลุ่มน้ าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา ตั้งอยู่ในลุ่มน้ าหลักแม่น้ ามูล (05) ลุ่มน้ าสาขาล าเชิงไกร

                   (0506) มีพื้นที่ 181.8304 ตารางกิโลเมตร (113,644 ไร่) มีปริมาณน้ าท่าคิดเป็น 77.62 ล้านลูกบาศก์

                   เมตรต่อปี ซึ่งถือว่ามีปริมาณน้ าที่สามารถเก็บกักไว้ใช้เพื่อการเกษตรได้ในปริมาณมากเพียงพอ ลักษณะ
                   ของลุ่มน้ าห้วยท่าแคมีการวางตัวตามแนวทิศตะวันตก-ตะวันออก  มีล าน้ าส าคัญได้แก่ ห้วยด่าน ห้วยสวาย

                   ห้วยสันเทียะ ที่ไหลลงห้วยท่าแคบริเวณต าบลโนนไทย และห้วยท่าแคไหลลงล าเชิงไกรบริเวณเขตระหว่าง

                   ต าบลจันอัดและเมืองปราสาท อ าเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา นอกจากนี้ยังมีหนองน้ า บึงธรรมชาติ
                   เช่น หนองจิก หนองท านบ บึงปากปลาคาบ โดยมีเนื้อที่ในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแคประมาณ 1,302 ไร่ และ

                   ยังมีแหล่งน้ าที่สร้างขึ้นได้แก่ อ่างเก็บน้ าบ้านโนนตากลาง สระน้ าบ้านดอนเท้า สระน้ าบ้านด่านจาก
                   อ่างเก็บน้ าบ้านพูลถวาย สระน้ านาหว้า สระน้ าบ้านไร่ สระจระเข้ เป็นต้น มีเนื้อที่ประมาณ 1,196 ไร่

                   มีพื้นที่แหล่งน้ ารวมในโครงการประมาณร้อยละ 2.33




                          การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้นที่เกษตรกรรมในภาพรวมมีแนวโน้มลดลงจากปี พ.ศ. 2558

                   (98,381 ไร่) โดยมีเนื้อที่ลดลงประมาณ 2,692 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 2.73 ของเนื้อที่เดิม เนื่องจากการ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10