Page 92 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 92

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          64



               ตารางที่ 3-13  ความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า ในพื้นที่ลุ่มน้ าคลองแอ่ง อ าเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด

                           ปีการผลิต 2563 (ต่อ)
                                                 รายการ                                      ร้อยละ

                    (2) ต้องการ โดยมีระดับความต้องการ                                          30.00

                      - น้อย                                                                   22.22
                      - ปานกลาง                                                                27.78

                      - มาก                                                                     50.00

               ที่มา: จากการส ารวจ กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต2 (2563)


                        ทั้งนี้ จะเห็นว่า เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดการชะล้างพังทลาย
               ของดินในแต่ละวิธีการมากน้อยแตกต่างกัน แต่เมื่อสอบถามถึงความต้องการวิธีการรักษาและป้องกันการชะล้าง

               พังทลายของดิน พบว่า 3 อันดับแรกที่เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการรักษา และป้องกันการชะล้าง
               พังทลายของดิน คือ การปลูกหญ้าแฝกขวางทางลาดชัน การท าฝายน้ าล้น หรือคันชะลอความเร็วของน้ า การยกร่อง

               และการปลูกพืชท าร่องน้ าไปตามแนวระดับ (ตารางที่ 3-14)

               ตารางที่ 3-14  ความรู้และความเข้าใจ และล าดับความต้องการของวิธีการรักษาและป้องกันการชะล้างพังทลาย

                            ของหน้าดิน พื้นที่ลุ่มน้ าคลองแอ่ง อ าเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ปีการผลิต 2563


                                                                          ร้อยละ           ล าดับความรู้
                              วิธีการรักษาและป้องกัน
                                                                   ใช่   ไม่ใช่   ไม่แน่ใจ   ความเข้าใจ
                1) การปลูกหญ้าแฝกขวางทางลาดชัน                    68.43  21.25     10.32       1

                2) การท าฝายน้ าล้นหรือคันชะลอความเร็วของน้ า     66.72  16.62     16.66       2
                3) การยกร่องและปลูกพืชท าร่องน้ าไปตามแนวระดับ    63.14  25.67     11.19       3

                4) การท าคันดินขวางทางลาดเท                       60.39  21.83     17.78       4
                5) การปลูกพืชสลับเป็นแถบ                          58.53  34.32      7.15       5

                6) การปลูกพืชคลุมดิน                              55.82  31.57     12.61       6
                7) การใช้วัสดุต่าง ๆ อย่างง่าย เช่นท่อนไม้ หิน กระสอบ   48.25  40.11   11.64   7

                  บรรจุทราย อิฐ และ ก่อสร้างขวางทางระบายน้ า
                  เพื่อชะลอความเร็วของน้ าไม่ให้กัดเซาะ

                8) การปลูกพืชแบบขั้นบันได (ปรับพื้นที่เป็นขั้น ๆ)   47.03  35.75   17.22       8
                9) การปลูกพืชหมุนเวียน/ปลูกพืชแซม/ปลูกพืชเหลื่อมฤดู   45.81  37.43   16.76     9

                10) การถางป่า ตัดไม้ท าลายป่า การขุดถนนท าให้เกิด   42.53  39.32   18.15       10
                    การชะล้างพังทลายของดิน
                11) การใช้วัสดุคลุมดิน เช่นเศษซากพืช พลาสติก กระดาษ   39.26  55.18   5.56      11

               ที่มา: จากการส ารวจ กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต2 (2563)
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97