Page 88 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 88

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          60



                           พื้นที่ดินที่มี การชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรง ผลผลิตเฉลี่ย 457.53 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุน

               ทั้งหมด 9,968.43 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุน
               ทั้งหมด 4,658.80 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.47

                           พื้นที่ดินที่มี การชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรงมาก ผลผลิตเฉลี่ย 433.75 กิโลกรัมต่อไร่

               ต้นทุนทั้งหมด 11,202.56 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ
               ต้นทุนทั้งหมด 2,664.43 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.24

                           พื้นที่ดินที่มี การชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรงมากที่สุด ผลผลิตเฉลี่ย 409.53 กิโลกรัมต่อ
               ไร่ ต้นทุนทั้งหมด 11,523.71 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ

               ต้นทุนทั้งหมด 1,568.96 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.14 พื้นที่ดินที่มี

                           เมื่อพิจารณาในภาพรวมของผลผลิต ต้นทุน และผลตอบแทนของการผลิตยางพารา ในพื้น
               ที่ดินแต่ละระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า ต้นทุนการผลิตมีแนวโน้ม ที่เพิ่มขึ้น

               ตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินที่เพิ่มขึ้น ปริมาณผลผลิตมีแนวโน้มลดลงเมื่อระดับ
               ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดมีแนวโน้ม

               ลดลงเมื่อระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มสูงขึ้น

                           3.3) ไม้ผลผสม ปลูกในพื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 4 ระดับ คือ ระดับปานกลาง
               ระดับรุนแรง ระดับรุนแรงมาก และระดับรุนแรงมากที่สุด พันธุ์ที่ใช้ปลูก คือ เงาะ มังคุด ลองกอง และทุเรียน

                           พื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับปานกลาง ผลผลิตเฉลี่ย 516.83 กิโลกรัมต่อไร่

               ต้นทุนทั้งหมด 4,530.61 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ
               ต้นทุนทั้งหมด 15,615.42 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 4.44

                           พื้นที่ดินที่มี การชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรง ผลผลิตเฉลี่ย 486.62 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุน
               ทั้งหมด 4,912.49 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุน

               ทั้งหมด 14,055.96 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 3.96

                           พื้นที่ดินที่มี การชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรงมาก ผลผลิตเฉลี่ย 409.09 กิโลกรัมต่อไร่
               ต้นทุนทั้งหมด 5,531.24 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ

               ต้นทุนทั้งหมด 10,415.09 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 3.46
                           พื้นที่ดินที่มี การชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรงมากที่สุด ผลผลิตเฉลี่ย 353.69 กิโลกรัมต่อ

               ไร่ ต้นทุนทั้งหมด 6,493.74 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ

               ต้นทุนทั้งหมด 7,293.09 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 2.55 พื้นที่ดินที่มี
                           เมื่อพิจารณาในภาพรวมของผลผลิต ต้นทุน และผลตอบแทนของการผลิตไม้ยืนต้นสวนผสม

               ในพื้นที่ดินแต่ละระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า ต้นทุนการผลิตมีแนวโน้ม ที่

               เพิ่มขึ้นตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินที่เพิ่มขึ้น ปริมาณผลผลิตมีแนวโน้มลดลงเมื่อ
               ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดมี

               แนวโน้มลดลงเมื่อระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มสูงขึ้น
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93