Page 94 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 94

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          66






                      จากการรวบรวมข้อมูลสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ เพื่อจัดท าแผนการใช้ที่ดิน

               เพื่อการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ลุ่มคลองแอ่งได้วิเคราะห์ SWOT

               โดยศึกษาสภาพการณ์ภายในและภายนอก วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและข้อจ ากัด ใน 4 ด้าน ได้แก่
               ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านนโยบาย เพื่อน าไปใช้ในการก าหนดมาตรการที่

               เหมาะสมและวางแผนบริหารโครงการ สรุปได้ดังนี้

                      1. ด้านกายภาพ (ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


                           จุดแข็ง (Strength)                       จุดอ่อน (Weakness)

                - มีระบบลุ่มน้ าย่อยที่สามารถบริหารจัดการ - พื้นที่มีการชะล้างพังทลายของดินสูง
                เชิงพื้นที่ในแต่ละระดับได้              - ในบางพื้นที่ประสบปัญหาการขาดแคลนน้ า

                - มีเส้นทางต่อเนื่องถึงล าน้ าหลัก (ลุ่มน้ าแม่น้ า - มีตะกอนดินสะสมในพื้นที่แหล่งน้ า
                เมืองตราด)

                - ทรัพยากรดินส่วนใหญ่ของพื้นที่ลุ่มน้ า มี

                ศักยภาพในการท าเกษตรกรรม
                - มีแหล่งน้ าธรรมชาติและแหล่งน้ าที่สร้างขึ้น

                เพื่อให้เกษตรกรใช้ในการท าการเกษตร และ

                อุปโภค บริโภค และสามารถพัฒนาต่อยอดได้


                          โอกาส (Opportunity)                         ปัญหา ( Threat )

                - เป็นนโยบายระดับประเทศในการการแก้ไข    - ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม โดยเฉพาะ
                ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  ทรัพยากรดินทั้งจากภัยธรรมชาติและมนุษย์

                (ด้านทรัพยากรดิน)                       เนื่องจากการใช้ที่ดินมาเป็นเวลานานปลูกพืช

                - มีทรัพยากรพื้นฐาน ได้แก่ ทรัพยากรดิน  เชิงเดี่ยวบางพื้นที่ไม่มีมาตรการการปรับปรุง บ ารุง
                แหล่งน้ า และแหล่งท่องเที่ยว ที่เพียงพอที่จะ ดิน

                น าไปสู่ภาคการผลิตหรือการพัฒนาต่อไป     - การบุกรุกพื้นที่ป่า พื้นที่สาธารณะ ปัญหาการทับ
                                                        ซ้อนกันระหว่างพื้นที่ท ากินของราษฎรเดิมกับพื้นที่

                                                        เขตป่า

                                                        -ปัญหาการเข้าท าลายผลผลิตทางการเกษตรของ
                                                        ช้างป่า
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99