Page 88 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 88

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                     78




               ตารางที่ 3.8 เนื้อที่การสูญเสียดินในภาคกลางตามสภาพพื้นที่ราบและพื้นที่สูง


                ชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดิน                                   เนื้อที่
                                                                         ไร่              ร้อยละ
                พื้นที่ราบ (ที่ราบล าน้ า ที่ลาดเชิงเขา และเนินเขา ความลาดชันน้อยกว่า 35 เปอร์เซ็นต์)
                   ชั้น 1   การสูญเสียดินน้อย                            10,681,575             84.16
                   ชั้น 2   การสูญเสียดินปานกลาง                             848,677             6.69

                   ชั้น 3   การสูญเสียดินรุนแรง                              152,272             1.20
                   ชั้น 4   การสูญเสียดินรุนแรงมาก                               9,403           0.07
                   ชั้น 5   การสูญเสียดินรุนแรงมากที่สุด                       16,520            0.13
                                    เนื้อที่รวม                          11,708,447             92.25
                พื้นที่สูง (ภูเขาและที่ลาดหุบเขา ความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์)
                  ชั้น 1H   การสูญเสียดินน้อย                              539,903               4.25

                  ชั้น 2H   การสูญเสียดินปานกลาง                           389,163               3.07
                  ชั้น 3H   การสูญเสียดินรุนแรง                             16,662               0.13
                  ชั้น 4H   การสูญเสียดินรุนแรงมาก                            3,464              0.03
                  ชั้น 5H   การสูญเสียดินรุนแรงมากที่สุด                    34,146               0.27
                                    เนื้อที่รวม                            983,338               7.75
                                 เนื้อที่รวมทั้งภาค                      12,691,785            100.00
               แผนที่แสดงในภาพภาคผนวกที่ 4


                        ผลกระทบจากการเกิดการสูญเสียดินในพื้นที่ภาคกลาง ท าให้ดินเสื่อมโทรม ผลผลิตตกต่ า แต่ในบาง
               พื้นที่ของภาคกลางไม่ได้รับผลกระทบจากกิจกรรมในพื้นที่ (on-site) เท่านั้น  ผลกระทบจากตะกอนที่พัดพามา
               จากทางภาคเหนือส่งผลทั้งทางบวกและลบต่อพื้นที่ภาคกลางได้  กล่าวคือ ตะกอนพัดพาขนาดเล็กที่แขวนลอยมา
               กับน้ าประกอบด้วย  แร่ธาตุที่หลากหลาย รวมถึงอินทรียสารท าให้พื้นที่ที่เกิดการตกตะกอนและทับถมมีความอุดม
               สมบูรณ์มากขึ้น ส่วนปริมาณตะกอนที่ไหลลงสู่ทะเล ทับถมบริเวณปากแม่น้ า จะช่วยลดการกัดเซาะของพื้นที่ชายฝั่ง
               ได้อีกด้วย ในขณะเดียวกันหากตะกอนที่ทับถมมีสารเคมีปนเปื้อน ก็อาจส่งผลกระทบการสะสมในพื้นที่ได้เช่นกัน



                                                                    “
                                                                                แนวทางการป้องกันและแก้ไข
                                                                    ปัญหาการสูญเสียดินในพื้นที่ภาคกลาง
                                                                    ควรมีการฟื้นฟูปรับปรุงบ ารุงดินที่เสื่อม
                                                                    โทรม มีการปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชต่าง

                                                                    ชนิดบนพื้นที่เดียวกัน ขวางความชันของ

                                                                    พื้นที่ หรือตามแนวระดับเป็นแถบโดย
                                                                    สลับหมุนเวียนกันไป        “
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93