Page 92 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 92

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                     82




                       เมื่อพิจารณาปริมาณการสูญเสียดินตามสภาพพื้นที่ในพื้นที่ราบและพื้นที่สูง (ตารางที่ 3.10)  ซึ่งมีสัดส่วนของ
               พื้นที่เท่ากับร้อยละ 57.77 และ 42.23 ของเนื้อที่ทั้งหมดของภาค ตามล าดับ  ทั้ง 2 พื้นที่มีเนื้อที่ของความรุนแรงของ

               การสูญเสียดินสูงสุดในระดับน้อย (0-2 ตันต่อไร่ต่อปี)  โดยพื้นที่ราบมีสัดส่วนต่ ากว่าพื้นที่สูง  และพบว่า ในพื้นที่ราบ
               ที่มีการสูญเสียดินมากกว่า 2 ตันต่อไร่ต่อปี มีเนื้อที่รวมประมาณ 3,370,270 ไร่ (ร้อยละ 11.69 ของเนื้อที่ทั้งหมด
               ของภาค) ส่วนใหญ่พบในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และบางพื้นที่ของจังหวัดกาญจนบุรีและราชบุรี ในขณะที่พื้นสูง
               ที่มีการสูญเสียดินมากกว่า 2 ตันต่อไร่ คิดเป็นเนื้อที่รวมประมาณ 2,655,613 ไร่ (ร้อยละ 9.21 ของเนื้อที่ทั้งหมด
               ของภาค) ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี  และบางส่วนในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และสุพรรณบุรี

               ตารางที่ 3.10 เนื้อที่การสูญเสียดินในภาคตะวันตกตามสภาพพื้นที่ราบและพื้นที่สูง

                ชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดิน                                 เนื้อที่*
                                                                       ไร่               ร้อยละ
                พื้นที่ราบ (ที่ราบล าน้ า ที่ลาดเชิงเขา และเนินเขา ความลาดชันน้อยกว่า 35 เปอร์เซ็นต์)

                   ชั้น 1   การสูญเสียดินน้อย                            13,269,933             46.07
                   ชั้น 2   การสูญเสียดินปานกลาง                           2,174,651             7.55
                   ชั้น 3   การสูญเสียดินรุนแรง                            1,000,229             3.47
                   ชั้น 4   การสูญเสียดินรุนแรงมาก                             52,844            0.18
                   ชั้น 5   การสูญเสียดินรุนแรงมากที่สุด                     142,546             0.49
                                   เนื้อที่รวม                           16,640,203             57.77

                พื้นที่สูง (ภูเขาและที่ลาดหุบเขา ความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์)
                  ชั้น 1H   การสูญเสียดินน้อย                              9,509,039            33.01
                  ชั้น 2H   การสูญเสียดินปานกลาง                           2,080,646             7.22
                  ชั้น 3H   การสูญเสียดินรุนแรง                              277,081             0.96
                  ชั้น 4H   การสูญเสียดินรุนแรงมาก                             86,290            0.30
                  ชั้น 5H   การสูญเสียดินรุนแรงมากที่สุด                     211,596             0.73

                                   เนื้อที่รวม                           12,164,652             42.23
                                เนื้อที่รวมทั้งภาค                       28,804,855            100.00
               แผนที่แสดงในภาพภาคผนวกที่ 5

                                                  “
                                                         แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา ควรมีมาตรการ

                                                อนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมตามสภาพพื้นที่ เพื่อป้องกันการชะล้าง

                                                ของดินในพื้นที่ลาดชัน เช่น การท าคูรับน้ ารอบขอบเขา ขั้นบันไดดิน
                                                ร่วมกับ  การปลูกหญ้าแฝก ปลูกพืชตามแนวระดับขวางความลาดเท

                                                ปลูกพืชคลุมดิน การท าคันดิน การฟื้นฟูปรับปรุงดินที่เสื่อมโทรม

                                                ส่งเสริมการท าเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อเกิด
                                                ความความหลากหลายแทนการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ตลอดจนสร้าง

                                                การรับรู้ให้คนในพื้นที่ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหา


                                                ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรดินและป่าไม้ ท าการเกษตรคู่ไปกับ

                                                การดูแลรักษาป่า และสามารถอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างยั่งยืน


                                                การสูญเสียดิน และผลักดันการมีส่วนร่วมของชุมชน และเครือข่าย“
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97