Page 62 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 62

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                     52




                                (2) แบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข (digital elevation model, DEM) ข้อมูลจากโครงการ
               The Shuttle Radar Topography Mission (SRTM) ขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ

               สหรัฐอเมริกา (The National Aeronautics and Space Administration NASA)
                           2) เตรียมข้อมูลแบบจ าลองความสูงเชิงเลข (DEM)
                               (1) ลดความละเอียดจุดภาพ (pixel size) ของแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลขของกรมพัฒนาที่ดิน
               มาตราส่วน 1:4,000 จาก 5 เมตร เป็น 30 เมตร จ านวน 129,000 ระวาง เพื่อให้สามารถประมวลผลร่วมกับ
               ข้อมูลของปัจจัยอื่นๆ ที่มีมาตราส่วนเล็กกว่าได้
                               (2) ต่อภาพ (Mosaic) แบบจ าลองระดับสูงเชิงเลขของกรมพัฒนาที่ดินทั้งหมดตามขอบเขตของ
               ประเทศ
                             (3) ต่อภาพ (Mosaic) ในบริเวณพื้นที่ที่ไม่มีข้อมูลด้วยแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข (SRTM)
                             (4) ตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูลเนื่องจากการต่อภาพและแก้ไขข้อมูลบริเวณพื้นที่ที่ไม่มี

               ค่าความสูงด้วยค าสั่ง Elevation Void Fill ด้วยโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์
                             (5) ลดความคลาดเคลื่อนของข้อมูลด้วยค าสั่ง  Fill / Sink เพื่อให้ข้อมูลมีความต่อเนื่องก่อน
               น าไปค านวณค่าความลาดชัน
                           3) ค านวณความลาดชัน (Slope)
                               (1) ค านวณค่าเปอร์เซ็นต์ความลาดชันด้วยโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์
                             (2) แบ่งระดับชั้นของความลาดชัน ออกเป็น 6 ชั้น ได้แก่ A (0-2 เปอร์เซ็นต์) B (2-5 เปอร์เซ็นต์)
               C (5-12 เปอร์เซ็นต์) D (12-20 เปอร์เซ็นต์) E (20-35 เปอร์เซ็นต์) และ F (มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์)
                           4) ค านวณปัจจัยความลาดชันของพื้นที่ (LS - factor)

                               ประมวลผลค่าปัจจัย L และ S ตามสมการ (2.5) - (2.7)  โดยสร้างแบบจ าลองการค านวณ
               (Model Builder) ในโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ และเพิ่มเงื่อนไขขอบเขตของความยาวของความลาดเท
               (λ) และค่าปัจจัยความลาดชันของพื้นที่ (LS - factor) ในแต่ละชั้นของความลาดชันไม่เกินค่าอ้างอิงจาก
               กรมพัฒนาที่ดิน ปี พ.ศ. 2545 ดังตารางที่ 2.3  ผลที่ได้เป็นแผนที่ดังแสดงในภาพที่ 2.4


               ตารางที่ 2.3  ค่าปัจจัยรวม LS-factor ของชั้นความลาดชันตามแผนที่กลุ่มชุดดิน

                    ชั้นความลาดชัน        เปอร์เซ็นต์     ความยาวของความลาดเท         ค่าปัจจัยรวม
                  ตามแผนที่กลุ่มชุดดิน   ความลาดชัน (S)      (ค่า λ เป็นเมตร)          LS-factor

                         A                  1.2                   150                    0.226
                         B                  2.0                   150                    0.323
                         C                  5.0                   100                    0.567
                         D                  12.0                   50                    1.927
                         E                  20.0                   50                    2.753
                    F (กลุ่มดิน 62)         35.0                   50                    4.571

               ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2545)
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67