Page 33 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        23


                            นอกจากผิวหน้าดินที่อุดมไปด้วยธาตุอาหารพืชได้สูญหายไปจากการชะล้างแล้ว ยังน าเอาปริมาณ
                   อินทรียวัตถุในดิน (SOM) หรืออินทรีย์คำร์บอนในดิน (SOC) ออกไปจากพื้นที่อีกด้วย ซึ่ง SOM และSOC
                   ถือว่า เป็นแหล่งส าคัญในการขับเคลื่อนกลไกต่างๆ ในระบบดินทั้งเป็นแหล่งหมุนเวียนธาตุอาหารในดิน
                   เสริมสร้างโครงสร้างเม็ดดิน เพิ่มช่องว่างในดิน และรักษาน้ าไว้ในดิน ซึ่งสมบัติดังกล่าวส่งเสริมให้ดินเหมาะสม

                   ต่อการเจริญเติบโตของรากพืชในการชอนไชที่ดี (FAO, 2019) โดยการชะล้างพังทลายของดินที่เกิดขึ้นอย่าง
                   ต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 50 และ100 ปี ท าให้ชั้นดินหายไปปริมาณ 10 และ20 เซนติเมตร ซึ่งท าให้ปริมาณ SOC
                   ลดลงอย่างมากด้วย














                   ภาพที่ 1.5 ผลกระทบของการชะล้างพังทลายของดินต่อชั้นดินและความลึกดินที่มีอินทรีย์คาร์บอนในดิน


                                        การชะล้างพังทลายของดินท าให้

                   เกิดการพัดพาตะกอนไปตกทับถมในล าน้ าและอ่างเก็บน้ า
                   จนท าให้เกิดการตื้นเขิน ได้แก่ การตื้นเขินของกว๊านพะเยา
                   บึงบอระเพ็ด ล้วนแล้วแต่เป็นผลมาจากการพัดพา
                   ตะกอนดิน เนื่องจากการใช้ที่ดินในพื้นที่เกษตร และ
                   ในบางพื้นที่ท าให้เกิดเป็นสันดอนขึ้นเป็นอุปสรรคต่อการ
                   คมนาคมทางน้ า คุณภาพน้ าไม่ดี และอาจท าให้เกิด
                   อุทกภัยร้ายแรง
                                        กรมชลประทาน (2555) รายงานว่า ตะกอนที่ตกทับถมในล าน้ า ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ า ฝาย
                   และคลองชลประทาน จะก่อให้เกิดผลกระทบ  ดังนี้

                                        1) ตะกอนที่ตกทับถมในล าน้ า ได้แก่ แม่น้ า ล าธาร และล าคลอง ก่อให้เกิดท้องน้ าตื้นเขิน
                   เป็นสาเหตุให้น้ าท่วมสูงกว่าปกติ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเดินของกระแสน้ า คุณภาพน้ าเสื่อมโทรมมีผลต่อระบบ
                   การหายใจของสัตว์น้ า เสียค่าใช้จ่ายมากขึ้นในการผลิตน้ าเพื่อการอุปโภคและบริโภค ท าให้ความจุหรือปริมาตร
                   ของล าน้ าลดลง ข้อดีของตะกอนที่น้ าพามาตกทับถมแถวที่ลุ่มหรือน้ าท่วมถึง (flood plain) จะเป็นพื้นที่ที่มี
                   ธาตุอาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช
                                         2) ตะกอนที่ตกทับถมในทะเลสาบและอ่างเก็บน้ า เมื่อล าน้ าไหลลงสู่ทะเลสาบ
                   ตามธรรมชาติหรืออ่างเก็บน้ า ความเร็วของกระแสน้ า และความสามารถในการพัดพาจะลดลง และตะกอนจะเริ่ม
                   ตกทับถมลงสู่ท้องทะเลสาบและอ่างเก็บน้ า ท าให้เกิดความตื้นเขิน  พื้นที่วางไข่ของปลามีน้อยลง  อายุการ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38