Page 147 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 147

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       137




                                (5) การน าเข้าข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล จัดชั้นระดับความรุนแรงการชะล้างพังทลายของดิน และ

                   แสดงผลในรูปแบบแผนที่
                          3) การวิจัยทางสังคม
                              เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อประเมินความพึงพอใจหรือการยอมรับเทคโนโลยีการอนุรักษ์
                   ดินและน้ าด้วยหญ้าแฝก หรือการจัดท าระบบพืชเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า เป็นต้น
                               (1) การก าหนดขอบเขตพื้นที่การวิจัย เช่น พื้นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการประยุกต์ใช้
                   หญ้าแฝกร่วมกับวิธีกลและวิธีพืชเพื่อป้องกันดินถล่ม เป็นต้น
                               (2) การก าหนดเครื่องมือที่ใช้ เช่น จัดท าแบบสัมภาษณ์เจาะลึกแบบมีโครงสร้างใช้แบบสัมภาษณ์
                   ประกอบด้วยค าถามปิด (closed question) ค าถามแบบถูกหรือผิดและค าถามแบบเปิด (open-ended

                   question) เป็นต้น
                               (3) การก าหนดขอบเขตประชากร นักวิจัยก าหนดขอบเขตประชากร หรือ กลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ
                   ศึกษา ประชากรเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เกษตรกรในท้องถิ่น
                               (4) การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ แนวคิด ทฤษฎี ข้อมูล
                   จากเว็บไซต์ต่างๆ และข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เจาะลึกแบบพบกันโดยตรง และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและ
                   ไม่มีส่วนร่วม รวมทั้งการสนทนากลุ่ม รวมกลุ่มเกษตรกร เพื่อจัดเวทีชุมชนร่วมระดมความคิดความรู้ และ
                   ประเมินผลจากเกษตรกรว่ามีความพึงพอใจและการยอมรับต่อเทคโนโลยีการอนุรักษ์ดินและน้ าด้วยหญ้าแฝก

                   ปัญหาและข้อเสนอแนะอย่างไร
                                (5) การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล โดยเลือกวิธีการส าหรับการวิเคราะห์ที่มีความเหมาะสมและ
                   ถูกต้องตามหลักวิชาการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล
                                (6) การด าเนินโครงการวิจัยตามระยะเวลาและแบบฟอร์มที่ก าหนด เช่น รายงานผลการด าเนินงาน
                   ประจ าไตรมาส และรายงานผลการด าเนินงานประจ าปี เป็นต้น
                                (7) การจัดท ารายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ สรุป และจัดท ารายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์
                   ตามแบบฟอร์มที่ก าหนด หลังสิ้นสุดปีงบประมาณด าเนินโครงการวิจัย
                                 (8) การเผยแพร่ผลงานและถ่ายทอดสู่เกษตรกร โดยการจัดท าผลงานส าหรับการเผยแพร่ เช่น
                   รายงานการวิจัย บทความทางวิชาการ ตลอดจนเผยแพร่ผ่านสื่อสาธารณะ เช่น สื่อวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์

                   สื่อออนไลน์  และคัดเลือกวิธีการที่เหมาะสมน าไปท าแปลงสาธิตร่วมกับนักวิชาการ พร้อมจัดอบรมถ่ายทอด
                   ความรู้ให้แก่เกษตรกร เป็นต้น





                                   เป็นการศึกษา วิเคราะห์ วางแผนการใช้ที่ดิน โดยใช้ฐานข้อมูลแผนที่การชะล้างพังทลายของดิน
                   ปี 2563 เพื่อก าหนดมาตรการด้านต่างๆ เช่น การวางแผนพื้นที่เสี่ยงภัยทางธรรมชาติ การวางแผนการใช้ที่ดิน
                   เพื่อการเกษตร และแผนการบริหารจัดพื้นที่เกษตรกรรมตามศักยภาพของที่ดิน โดยมีกรอบแนวคิดจากหลักการ
                   เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา โดยการบูรณาการข้อมูลสหวิชาการ โดยเฉพาะข้อมูลสถานภาพการชะล้างพังทลาย
                   ของดิน เพื่อช่วยในการก าหนดพื้นที่เป้าหมายในการวางแผนการใช้ที่ดินระดับต าบล น าไปสู่การบริหารจัดการ
                   พื้นที่โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาโดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการก าหนด
                   มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าที่สอดคล้องตามสภาพปัญหาของพื้นที่และความต้องการของชุมชนเพื่อให้

                   เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152