Page 149 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 149

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       139




                   ตารางที่ 5.1 การจัดท าฐานข้อมูลเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงตามตัวชี้วัดมิติกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม


                    ประเด็น         ประเด็นตัวชี้วัด*   รายการตรวจวัดและประเมิน**         ผู้รับผิดชอบ
                                                                                 ข้อมูลเชิงพื้นที่  จัดท าฐานข้อมูล
                    1. ข้อมูลดิน    1.1 อัตราการสูญเสีย  - ปริมาณและความเข้มของฝน   ส่วนภูมิภาค:    1. ผู้เชี่ยวชาญ
                                  ดิน                - ความคงทนต่อการถูกชะล้าง   สพข./สพด.    ส่วนภูมิภาคและ
                                                     พังทลายของดิน                            ส่วนกลาง :
                                                     - ความลาดชันของพื้นที่      ส่วนกลาง:    คัดกรองข้อมูล
                                                     - การจัดการพืช              กวจ./กสด./
                                                     - การปฏิบัติการป้องกันการ   กนผ./สวด./   2. กวจ. : จัดเก็บ
                                                     ชะล้างพังทลายของดิน         สสผ./กทช./   และน าเข้า

                                  1.2 ปริมาณดินหรือ    - วัดความลึกของหน้าดินที่สูญหาย   สวพ.   ฐานข้อมูลกลาง
                                  ตะกอนที่สูญหายไป   โดยใช้หลักวัดหรือหมุด (pin)              และประเมินเชิง
                                                     - ขนาดพื้นที่                            วิชาการ
                                                     - ความหนาแน่นของดิน
                                                     - บ่อดักตะกอน                            3. กผง. : ประเมิน
                                  1.3 การเปลี่ยนแปลง  - ท าค าบรรยายหน้าตัดดิน                ภาพรวมเชิง
                                  ลักษณะและสมบัติดิน - ความชื้นในดิน หรือน้ าในดิน            นโยบาย
                                  ทางกายภาพ  เคมี    - การกระจายตัวของเม็ดดิน
                                  และชีวภาพ          - สิ่งมีชีวิตในดิน
                                  1.4 ระดับความอุดม  - อินทรียวัตถุในดิน
                                  สมบูรณ์ของดิน การ  - ธาตุอาหารหลัก ประกอบด้วย
                                  ปนเปื้อนในดิน/     ไนโตรเจนรวม ฟอสฟอรัสและ
                                  ตะกอน               โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์
                                                     - ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน
                                                     - ความอิ่มตัวด้วยเบส
                                                     - ปัจจัยระบบนิเวศบริการ
                                                     - ปริมาณสารตกค้างในดิน/ตะกอน
                                  1.5 ปริมาณและมูลค่า - ธาตุอาหารหลักในดิน
                                  การสูญเสียของธาตุ  - ปริมาณอินทรีย์คาร์บอนในดิน
                                  อาหาร และคาร์บอน   - การปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก
                                  ในดิน              - การจัดการดิน น้ า ปุ๋ย และพืช
                                                     - ราคาปุ๋ยที่ใช้ในพื้นที่
                    2. ข้อมูลน้ า    2.1 ปริมาณตะกอนใน - น้ าหนักของตะกอนในแหล่งน้ า   ส่วนภูมิภาค
                                  แหล่งน้ า                                      (สพข./สพด.)
                                  2.2 คุณภาพของน้ า   - ค่าความขุ่นของน้ า และสมบัติที่  ส่วนกลาง
                                  และแหล่งน้ าเพื่อ  เกี่ยวข้องด้วยชุดทดสอบในสนาม    (สวพ./กสด./
                                  อุปโภคและบริโภค    หรือวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ   กวจ./สวด.)
                                                     - สารปนเปื้อนในน้ า เช่น โลหะหนัก
                                                     สารเคมีตกค้าง และปุ๋ย
                   หมายเหตุ : * พิจารณาตามสภาพภูมิสังคม
                                ** วิธีการเก็บตัวอย่าง เก็บข้อมูล วิเคราะห์ตัวอย่าง และวิเคราะห์ข้อมูลตามระบบมาตรฐานสากล
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154