Page 146 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 146

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                    136




                            - เก็บตัวอย่างตะกอนดินในบ่อหรือถังเก็บตะกอน โดยเก็บตัวอย่างน้ าด้วยกระบอกตวงที่มี
               ปริมาตรที่แน่นนอนจากถังเก็บน้ าและตะกอนดินที่ผ่านการกวนน้ าให้เข้ากันดี สัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือท าการ

               เก็บตะกอนดินทุกครั้งที่ฝนตก
                            - เก็บข้อมูลการเจริญเติบโตของพืช และผลผลิต
                            - เก็บข้อมูลปริมาณน้ าฝน ทุกวันตลอดทั้งปี หน่วยเป็นมิลลิเมตร
                            - เก็บข้อมูลปริมาณน้ าไหลบ่า โดยใช้ไม้วัดปริมาณน้ าในถังเก็บน้ าและตะกอนดินที่ไหลลงมา
               จากพื้นที่แปลงทดลองตอนบน และเก็บข้อมูลอื่นๆ ตามที่ระบุไว้
                         7) ปัจจัยตัวชี้วัดในการวิเคราะห์และแปรผลข้อมูล ดังนี้
                            - สมบัติของดินทางกายภาพและเคมีบางประการ เช่น ความหนาแน่นรวมของดิน ความชื้น
               ในดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง อินทรียวัตถุในดิน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม เป็นต้น
                            - สมบัติทางเคมีบางประการของตะกอนดิน เช่น ความเป็นกรดเป็นด่าง อินทรียวัตถุในดิน

               ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม เป็นต้น
                            - ปริมาณการสูญเสียดิน หน่วยเป็นตันต่อไร่ต่อปี สามารถค านวณตะกอนดินจากตัวอย่างน้ า
               ที่สุ่มเก็บ โดยหาน้ าหนักแห้งของตะกอนที่ผ่านการอบดินให้แห้งนาน 24 ชั่วโมง แล้วค านวณน้ าหนักแห้งเฉลี่ย
               ของแต่ละแปลงจากปริมาณตัวอย่างน้ าที่สุ่มมา หรือใช้วิธีการชั่งน้ าหนักตะกอนดินที่สะสมในบ่อดักตะกอนดิน
               หลังฤดูฝน
                            - ปริมาณการสูญเสียน้ า โดยคิดเป็นความสูงของน้ า มีหน่วยเป็นมิลลิเมตร
                            - ปริมาณการสูญเสียธาตุอาหารพืชในดินที่สูญเสียไปกับตะกอนดินหรือน้ าไหลบ่า โดยวิเคราะห์
               จากตะกอนดินที่เก็บไว้เป็นรายปีมีหน่วยเป็นตันต่อไร่


                           2) การวิจัยโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ร่วมกับแบบจ าลองคณิตศาสตร์เพื่อประเมินการ
               ชะล้างพังทลายของดิน
                              การใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (geographic information system; GIS) ร่วมกับ
               แบบจ าลองคณิตศาสตร์เพื่อประเมินอัตราการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ลุ่มน้ าศึกษา หรือน าไปพิจารณา
               เลือกใช้ที่ดินและการปฏิบัติทางการเกษตร ซึ่งแบบจ าลองคณิตศาสตร์ที่นิยมใช้ เช่น สมการสูญเสียดินสากล
               (USLE), แบบจ าลอง Morgan, Morgan and Finney (MMF) แบบจ าลอง Revised Morgan, Morgan and
               Finney (RMMF) เป็นต้น มีขั้นตอน ดังนี้
                              (1) การก าหนดขอบเขตพื้นที่การวิจัย โดยสามารถพิจารณพื้นที่ในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า ลุ่มน้ า

               หลัก หรือลุ่มน้ าสาขาที่สนใจ พร้อมระบุพิกัดตามระบบ UTM ขนาดพื้นที่ (ตารางกิโลเมตร)
                              (2) การก าหนดขอบเขตข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
                                - ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย เช่น ข้อมูลระดับสูงเชิงเลข (DEM) ความละเอียด 30 เมตร ข้อมูล
               ลุ่มน้ า ข้อมูลกลุ่มชุดดิน ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน และข้อมูลปริมาณน้ าฝนรายปี เป็นต้น
                                - เครื่องมือที่ใช้ในการค านวณ ได้แก่ โปรแกรมทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ แบบจ าลอง
               คณิตศาสตร์ที่ใช้ในการศึกษา เช่น สมการสูญเสียดินสากล (USLE) แบบจ าลอง Morgan, Morgan and Finney
               (MMF) หรือ แบบจ าลอง Revised Morgan และ Morgan and Finney (RMMF) เป็นต้น
                               (3) การเก็บรวบรวมข้อมูล ตัวแปรที่จ าเป็นต้องใช้ในแบบจ าลองต่างๆ

                             (4) การเตรียมข้อมูลให้อยู่ในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เช่น ชั้นข้อมูลขอบเขตพื้นที่ลุ่มน้ า
               ต าแหน่งสถานีอุตุนิยมวิทยา ความลาดชันของพื้นที่ กลุ่มชุดดิน และการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151