Page 103 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 103

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        93




                   ตารางที่ 3.18 เปรียบเทียบเนื้อที่ของการสูญเสียดินของภาคกลางระหว่างปี พ.ศ. 2545 และปี พ.ศ. 2563


                    ชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดิน                             เนื้อที่ (ไร่)
                                                               ปี พ.ศ. 2545    ปี พ.ศ. 2563     ผลต่าง
                    พื้นที่ราบ (ที่ราบล าน้ า ที่ราบเชิงเขา และเนินเขาความลาดชันน้อยกว่า 35 เปอร์เซ็นต์)
                    ชั้นที่ 1    การสูญเสียดินน้อย                 9,585,740     10,681,575     +1,095,83
                    ชั้นที่ 2   การสูญเสียดินปานกลาง               1,724,495        848,677      -875,818
                    ชั้นที่ 3   การสูญเสียดินรุนแรง                  283,181        152,272      -130,909
                    ชั้นที่ 4   การสูญเสียดินรุนแรงมาก                14,768          9,403        -5,365
                    ชั้นที่ 5   การสูญเสียดินรุนแรงมากที่สุด         100,263         16,520       -83,743
                                      รวม                         11,708,447     11,708,447       -
                    พื้นที่สูง  (ภูเขา และที่ราบหุบเขา ลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์)
                    ชั้นที่ 1H    การสูญเสียดินน้อย                  205,694        539,903      +334,209
                    ชั้นที่ 2H   การสูญเสียดินปานกลาง                238,450        389,163      +150,713
                    ชั้นที่ 3H   การสูญเสียดินรุนแรง                 389,976         16,662      -373,314
                    ชั้นที่ 4H   การสูญเสียดินรุนแรงมาก               64,352          3,464       -60,888
                    ชั้นที่ 5H   การสูญเสียดินรุนแรงมากที่สุด         84,866         34,146       -50,720
                                      รวม                            983,338        983,338       -
                                   รวมทั้งภาค                     12,691,785     12,691,785       -
                   เนื้อที่ได้จากการค านวณด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์



                                   จากการเปรียบเทียบผลระหว่างปี พ.ศ. 2545 และพ.ศ. 2563 (ตารางที่ 3.19) พบว่า ในพื้นที่
                   ราบที่มีระดับการสูญเสียดินปานกลาง (2-5 ตันต่อไร่ต่อปี) มีเนื้อที่ลดลงจากปี 2545 ประมาณ 2.56 ล้านไร่
                   ในขณะที่พื้นที่ที่มีระดับการสูญเสียดินอื่นมีเนื้อที่เพิ่มขึ้น  ส าหรับพื้นที่สูง ในพื้นที่ที่มีระดับการสูญเสียดินปาน
                   กลาง (2-5 ตันต่อไร่ต่อปี) และรุนแรง (5-15 ตันต่อไร่ต่อปี) ในปี พ.ศ. 2563 มีเนื้อที่ลดลง 3.86 และ 2.69 ล้านไร่
                   ตามล าดับ ในขณะที่พื้นที่ที่มีการสูญเสียดินระดับน้อย รุนแรงมาก และรุนแรงมากที่สุด มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 6.44

                   0.06 และ 0.06 ล้านไร่ ตามล าดับ
                                   จะเห็นว่า เนื้อที่ตามระดับการสูญเสียดินของภาคตะวันตกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในพื้นที่ราบ
                   ยกเว้น ที่ระดับความรุนแรงปานกลาง (2-5 ตันต่อไร่ต่อปี) ส่วนในพื้นที่ที่มีระดับการสูญเสียดินรุนแรงมาก (5-15
                   ตันต่อไร่ต่อปี) และรุนแรงมากที่สุด (>20 ตันต่อไร่ต่อปี) เพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยทั้งในบริเวณพื้นที่ราบ และพื้นที่สูง
                   แต่เมื่อพิจารณาในรายจังหวัด พบว่า พื้นที่ที่มีระดับการสูญเสียดินรุนแรงมาก และรุนแรงมากที่สุดอยู่ในจังหวัด
                   กาญจนบุรี และประจวบคีรีขันธ์ มีแนวโน้มของเนื้อที่เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2545
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108