Page 26 - การใช้ปุ๋ยพืชสด (ปอเทือง) ร่วมกับเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินเพื่อปรับปรุงบำรุงดินและเพิ่มผลผลิตข้าว พื้นที่ตำบลพลับพลาไชย อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
P. 26
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
16
2.7 ปัญหาทรัพยากรดินที่พบในต าบลพลับพลาไชย
2.7.1 ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า
ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เป็นดินที่มีมีปริมาณธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืชน้อย
รวมทั้งความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารต่ าและถูกชะพาออกไปจากพื้นที่ได้ง่าย ได้แก่ กลุ่มชุดดิน
ที่ 18 28 38 47 และ 55
แนวทางการแก้ไข การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณนี้ ควรมีการปรับปรุงบ ารุงดินโดยการเพิ่ม
ปริมาณอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยหมัก อัตรา 1-4 ตันต่อไร่ ปุ๋ยคอก อัตรา 1-2 ตันต่อไร่ หรือปุ๋ยพืชสด
อัตราเมล็ดพันธ์ 5-10 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก เพื่อช่วยปรับปรุงบ ารุงดิน เพิ่ม
ผลผลิตและรักษาความสามารถในการผลิตของดินไม่ให้เสื่อมลงอย่างรวดเร็ว ท าให้มีการใช้ประโยชน์
ที่ดินได้อย่างยั่งยืน
2.7.2 ดินด่างจัด
ดินด่างจัดในต าบลพลับพลาไชย พบเพียงเล็กน้อยบริเวณที่มีเขาหินปูนได้แก่กลุ่มชุดดินที่ 52
และ 54 ดินด่างจัดที่พบนอกจากจะมี ผงปูนทุติยภูมิและเม็ดปูนในเนื้อดินยังพบชั้นของ ผงปูนทุติยภูมิ
และเม็ดปูนภายในความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดินซึ่งมีผลท าให้ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินอยู่
ที่ประมาณ 8.0-8.5 ในช่วงความเป็นกรดเป็นด่างระดับนี้จะท าให้ธาตุอาหารพืชบางอย่างไม่สามารถ
ปลดปล่อยออกมาให้เป็นประโยชน์ต่อพืชได้ เช่น ธาตุฟอสฟอรัส เหล็ก สังกะสี ทองแดง แมงกานีส
และโคบอลท์ เป็นต้น
แนวทางแก้ไข การท าการเกษตรในพื้นที่นี้จะต้องใช้ความระมัดระวัง โดยอาจเลือกชนิดของ
พืชที่ทนด่าง หรือให้ธาตุอาหารพืชบางชนิดทางใบ นอกจากนี้ควรใส่อินทรียวัตถุหรือปุ๋ยอินทรีย์ลงใน
ดิน เพื่อลดความเป็นด่างของดินลง และปรับปรุงสมบัติทางกายภาพให้ดีขึ้น
2.7.3 ดินตื้น
ดินตื้นที่พบในพื้นที่ต าบลพลับพลาไชย ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 47 เป็นดินตื้นถึงชั้นหินพื้น บาง
พื้นที่มีเศษหินหรือหินพื้นโผล่บริเวณหน้าดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดถึงเป็นกลาง มีการระบายน้ าดี ขาด
แคลนน้ า และเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินในพื้นที่ลาดชัน มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า
แนวทางการแก้ไข พื้นที่ที่เป็นดินตื้นมาก มีเศษหินหรือหินพื้นโผล่ ไม่เหมาะส าหรับการท า
การเกษตร ควรปล่อยไว้เป็นป่า หรือปลูกไม้ใช้สอยโตเร็ว ส่วนพื้นที่ที่มีหน้าดินหนาควรมีการจัดระบบ
การปลูกพืชหมุนเวียน ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 3-4 ตันต่อไร่ หรือไถกลบพืชปุ๋ยสด
ร่วมกับปุ๋ยเคมีและน้ าหมักชีวภาพ ไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ มีวัสดุคลุมดิน หรือปลูกพืช
สลับเป็นแถบ พัฒนาแหล่งน้ าและจัดระบบการให้น้ าในแปลงปลูก
2.7.4 พื้นที่มีความลาดชันสูงหรือพื้นที่ภูเขา
พื้นที่ที่มีความลาดชัน มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์หรือเป็นพื้นที่ภูเขา ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 62 ไม่
เหมาะสมต่อการเกษตรกรรม เนื่องจากยากต่อการจัดการดูแลรักษา ใช้มาตรการพิเศษในการอนุรักษ์
ดินและน้ า ท าให้เสียค่าใช้จ่ายสูงมาก และยังเป็นการท าลายระบบนิเวศน์ของป่าไม้อีกด้วย ได้แก่
บริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันเชิงซ้อน
แนวทางการแก้ไข ควรรักษาไว้ไห้เป็นป่าตามธรรมชาติ เป็นที่อยู่อาศัยและเพาะพันธุ์ของสัตว์
ป่าเป็นแหล่งต้นน้ าล าธาร ถ้ามีความจ าเป็นต้องน ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ควรมีการส ารวจดิน