Page 13 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         5


                   หลังเก็บผลผลิตยางพาราทุกปี ตั้งแต่ปี 2559 ถึงปี 2561 เพื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี
                   ของดิน วิธีการเก็บ คือ ขุดหลุมเป็นรูปตัววี ลึก 30  เซนติเมตรจากผิวดิน แซะด้านข้างของหลุมหนา

                   ประมาณ 1.3-2.5  เซนติเมตร ขนานลงไปตามหน้าดินที่ขุดไว้ลึกถึงก้นหลุม ตักดินออกเหลือไว้แต่ดินตรง
                   กลางกว้างประมาณ 2.5-5.0 เซนติเมตร เก็บดินใส่ถุงพลาสติก ส่งวิเคราะห์ที่กลุ่มวิเคราะห์ดิน ส้านักงาน

                   พัฒนาที่ดินเขต 2 สมบัติทางเคมีของดินที่ตรวจวิเคราะห์ ได้แก่ ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (Walkley  and
                   Black)  ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน  (pH  ดิน:น้้า=1:1)  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (วิธีการสกัด

                   ด้วยน้้ายา Bray II ) และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (วิธีการสกัดด้วยน้้ายา NH OAc pH 7.0 )
                                                                                         4
                                  3.2.2  ข้อมูลพืช  บันทึกข้อมูลผลผลิตพืชหรือเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้ง ดังนี้
                                                1) เก็บข้อมูลปริมาณผลผลิตและเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้งของน้้ายางพาราที่กรีดได้
                   เดือนละ 2 ครั้ง  ในช่วงเปิดกรีด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 ถึงปี พ.ศ. 2561 เพื่อเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์เนื้อยางแห้ง

                   รายปี เก็บข้อมูลผลผลิตยางเดือนละ  2  ครั้ง  ในรูปของยางก้อน โดยวิธีหยดกรดฟอร์มิคเข้มข้น 2
                   เปอร์เซ็นต์ ลงในน้้ายาง คนน้้ายางจนน้้ายางจับตัวเป็นก้อน ลดความชื้นในยางก้อนโดยตากยางก้อนทิ้งไว้
                   15-20 วัน ชั่งน้้าหนักยางก้อนรวมแต่ละแปลงย่อย เป็นจ้านวนกรัมต่อต้นต่อครั้งกรีด แล้วคูณด้วย 0.85

                   (หักความชื้น 15 เปอร์เซ็นต์ตามมาตรฐานสากล) แล้วคูณด้วยจ้านวนวันกรีดและจ้านวนต้นกรีดต่อไร่ จะ
                   ได้ผลผลิตเป็นกิโลกรัมต่อไร่ต่อปี  (นุชนารถและคณะ, 2551)
                                     3.2.3 ข้อมูลปุ๋ยอินทรีย์ วิเคราะห์ธาตุอาหารในปุ๋ยอินทรีย์จากหอยเชอรี่บดทั้งเปลือก
                   และขี้เถ้ากาบมะพร้าว เพื่อค้านวณปริมาณปุ๋ยที่ใช้ในการทดลอง และคุณสมบัติอื่นๆของปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่

                   ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ปริมาณอินทรียวัตถุ อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน ค่าการ
                   น้าไฟฟ้า และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                          4. ศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ โดยเก็บข้อมูลรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ด้าเนินการ และ
                   รายได้จากการจ้าหน่ายผลผลิต เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจในแต่ละปี
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18