Page 12 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         4


                         วิธีที่ 2)  ใส่ปุ๋ยเคมี 100 เปอร์เซ็นต์ ตามค่าวิเคราะห์ดิน
                                  ทั้ง 3 ปี ปริมาณธาตุอาหารที่พืชต้องการคือ 12 - 4 -19 กิโลกรัมไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ
                   โพแทสเซียมต่อไร่ต่อปี ดังนั้นจึงใส่ปุ๋ยดังนี้คือ ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0  จ้านวน 22.7 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี,

                   ปุ๋ยเคมีสูตร 18-46-0 จ้านวน 8.7 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี และปุ๋ยเคมีสูตร 0-0-60 จ้านวน 31.7 กิโลกรัมต่อไร่
                   ต่อปี)
                           วิธีที่ 3)  ใส่ปุ๋ยเคมี 75 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ 25 เปอร์เซ็นต์ ตามค่าวิเคราะห์ดิน
                                  ในปีที่ 1 และ 2 ปริมาณธาตุอาหารที่พืชต้องการคือ 12- 4 -19 กิโลกรัมไนโตรเจน ฟอสฟอรัส

                   และโพแทสเซียมต่อไร่ต่อปี ดังนั้นจึงต้องใส่ปุ๋ยดังนี้คือ ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0  จ้านวน 17 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี,
                   ปุ๋ยเคมีสูตร 18-46-0 จ้านวน 6.5 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี, ปุ๋ยเคมีสูตร 0-0-60 จ้านวน 23.8 กิโลกรัมต่อไร่ต่อ
                   ปี ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์หอยเชอรี่บดทั้งเปลือก จ้านวน 78 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี และขี้เถ้ากาบมะพร้าว จ้านวน

                   23.7 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี
                                  ในปีที่ 3 ปริมาณธาตุอาหารที่พืชต้องการคือ 12- 8 -19 กิโลกรัมไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ
                   โพแทสเซียมต่อไร่ต่อปี ดังนั้นจึงใส่ปุ๋ยดังนี้คือ ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0  จ้านวน 13 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี, ปุ๋ยเคมี
                   สูตร 18-46-0 จ้านวน 14.7 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี และปุ๋ยเคมีสูตร 0-0-60 จ้านวน 23.8 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี
                   ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์หอยเชอรี่บดทั้งเปลือก จ้านวน 78 กิโลกรัมต่อต้นต่อปี และขี้เถ้ากาบมะพร้าว จ้านวน

                   25 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี
                   หมายเหตุ    -  การใส่ปุ๋ยในยางพาราที่ให้ผลผลิตแล้วจะใส่ตามค่าวิเคราะห์ดินของกรมวิซาการเกษตร (2548)
                                   -  แหล่งธาตุไนโตรเจนได้จากหอยเชอรี่บดทั้งเปลือก

                                   -  แหล่งธาตุฟอสฟอรัสได้จากหอยเชอรี่บดทั้งเปลือกและขี้เถ้ากาบมะพร้าว
                                   -  แหล่งธาตุโพแทสเซียมได้จากขี้เถ้ากาบมะพร้าว
                                  3.1.2  เลือกพื้นที่ปลูกยางพาราที่ให้ผลผลิตแล้วอายุ 11 ปี  บนกลุ่มชุดดินที่ 45C ชุดดิน
                   คลองซาก ต้าบลหนองโสน อ้าเภอเมือง  จังหวัดตราด และวางผังตามแผนการทดสอบที่ก้าหนด (ภาพที่ 1)

                                  3.1.3  สุ่มเก็บตัวอย่างดินก่อนการทดลอง
                                  3.1.4  เตรียมปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์จากหอยเชอรี่บดทั้งเปลือกและขี้เถ้ากาบมะพร้าว
                   ตามอัตราที่แนะน้าในแต่ละวิธีการ
                                  3.1.5  ใส่ปุ๋ยตามวิธีการทดลอง  โดยแบ่งใส่ 2 ครั้งต่อปีช่วงต้นเดือนพฤษภาคม และ

                   ปลายเดือนกันยายน โดยวิธีหว่านระหว่างแถวยางพาราแล้วกลบ โดยหว่านให้ห่างจากโคนต้นยางประมาณ
                   1-1.50 เมตร
                                  3.1.6  ดูแลรักษาโรคแมลงและศัตรูพืชอย่างสม่้าเสมอ
                          3.2 การเก็บข้อมูล

                                   3.2.1. ข้อมูลดิน  ท้าการเก็บตัวอย่างก่อนและหลังการเก็บผลผลิตปีที่ 1 ปีที่ 2 และปีที่ 3
                   ที่ระดับความลึก 30  เซนติเมตร จากผิวดิน โดยเก็บตัวอย่างดินแบบ composite  sample  เพื่อส่ง

                   วิเคราะห์สมบัติทางเคมีของดินก่อนและหลังด้าเนินงาน โดยเก็บตัวอย่างดินก่อนด าเนินงานในปี 2558 และ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17