Page 55 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
P. 55

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        43

                                  จากการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักและน  าหมักชีวภาพในพื นที่
                   นาข้าวขาวดอกมะลิ 105 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ข้าว อ าเภอ
                   นาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี เกษตรกรได้ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 เพิ่มขึ นเรื่อยๆ ทุกปีซึ่งมีแนวโน้มที่

                   ดีขึ น เนื่องจากการใช้ปุ๋ยหมักและน  าหมักชีวภาพมีผลต่อการเพิ่มผลผลิตของพืช คือจะมีธาตุอาหารที่มี
                   อินทรียวัตถุ มีธาตุอาหารรอง และจุลธาตุที่จ าเป็นต่อจุลินทรีย์ดินและพืช และสามารถปรับปรุงสมบัติทาง
                   กายภาพ ชีวภาพ ทางเคมีในดินให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช และยังสามารถท าให้เพิ่มผลผลิต
                   ได้ถึง 20-30 เปอร์เซ็นต์ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558) และในปีที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการเกษตรกรได้ผลผลิตข้าว

                   ขาวดอกมะลิ 105 เท่ากับ 430 กิโลกรัมต่อไร่ สอดคล้องกับการผลิตของสมนึก และอมร (2532) ที่
                   ท าการศึกษาการใช้ปอเทืองและโสนอินเดียเป็นปุ๋ยพืชสดแทนปุ๋ยไนโตรเจนในนาข้าว ปรากฏว่าปอเทืองให้
                   น  าหนักสดเฉลี่ย 252.695 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อไถกลบแล้วให้ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 เท่ากับ 343.27

                   กิโลกรัมต่อไร่ และมีความสอดคล้องกับการศึกษาของปรีชา และสลิตา (2557) ที่ศึกษาแนวทางการปลูก
                   พืชปุ๋ยสดปรับปรุงบ ารุงดินในระบบนาข้าวของเกษตรกรจังหวัดหนองคาย พบว่าเกษตรกรที่ท าการปลูก
                   ข้าวนาปีโดยวิธีหว่านในพื นที่จังหวัดหนองคายในที่ปลูกพืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) ปรับปรุงดินในระบบนาข้าวให้
                   ผลผลิตสูงสุดเท่ากับ 403 กิโลกรัมต่อไร่ และเกษตรกรได้รับผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่เป็นรายได้สุทธิ
                   เท่ากับ 2,855 บาทต่อไร่ และส าหรับเกษตรกรที่ท าการปลูกข้าวนาปรังในพื นที่จังหวัดหนองคายในที่ปลูก

                   พืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) ปรับปรุงดินในระบบนาข้าวให้ผลผลิตสูงสุดเท่ากับ 482 กิโลกรัมต่อไร่ นอกจากนี ยัง
                   สอดคล้องกับการผลิตของจารุวรรณี (2559) ที่พบว่า การใช้ปอเทืองเป็นพืชปุ๋ยสดท าให้ดินมีปริมาณธาตุ
                   อาหารสูงขึ นได้ผลผลิตข้าวเท่ากับ 473 กิโลกรัมต่อไร่ และได้รับผลตอบแทนทางเศรษฐกิจประมาณ

                   3,249-3,753 บาทต่อไร่ มากกว่าวิธีการเกษตรกรที่ใช้ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียวได้ผลผลิตข้าวเท่ากับ 339
                   กิโลกรัมต่อไร่ และให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเพียง 1,264 บาทต่อไร่

                   4.3 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรที่เข้าร่วมการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้
                        ปุ๋ยหมักและน้้าหมักชีวภาพโครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อ าเภอนาเยีย
                        จังหวัดอุบลราชธานี

                            ส าหรับต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในแปลงพื นที่ของ
                   เกษตรกรโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยดังตารางผนวกที่ 2 และตารางที่ 8 พบว่า โดยเฉลี่ยจากเกษตรกรจ านวน 75
                   ราย ก่อนเข้าร่วมโครงการเกษตรกรในพื นที่มีรวมค่าใช้จ่ายต่อไร่ มูลค่าผลผลิตต่อไร่ และผลตอบแทน
                   เหนือค่าใช้จ่ายผันแปรเท่ากับ 4,332.53  3,627.33 และ –705.24 บาท ตามล าดับ และเมื่อเกษตรกรได้

                   เข้าร่วมโครงการในปีที่ 1 พบว่ามีรวมค่าใช้จ่ายต่อไร่ มูลค่าผลผลิตต่อไร่ และผลตอบแทนเหนือค่าใช้จ่าย
                   ผันแปร เท่ากับ 3,837.13  3,794.66 และ -37.76 บาท ตามล าดับ ส่วนเกษตรกรที่ได้เข้าร่วมโครงการใน
                   ปีที่ 2 พบว่ามีรวมค่าใช้จ่ายต่อไร่ มูลค่าผลผลิตต่อไร่ และผลตอบแทนเหนือค่าใช้จ่ายผันแปร เท่ากับ
                   3,493.45  4,010.00 และ 516.51 บาท ตามล าดับ

                            ต้นทุนในการปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ลดลงทุกปีอย่างต่อเนื่อง เกิดจากการที่เกษตรกรลด
                   การใช้ปุ๋ยเคมี และเกษตรกรได้ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 เพิ่มขึ นเรื่อยๆ ทุกปี เนื่องจากการใช้ปุ๋ยหมัก
                   น  าหมักชีวภาพ และการใช้ปุ๋ยพืชสดจะสามารถช่วยปรับปรุงสภาพดินให้มีคุณภาพดี เหมาะสมส าหรับการ

                   เจริญเติบโตของข้าวขาวดอกมะลิ 105 และส่งให้ได้ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105  เพิ่มขึ นอีกด้วย
                            เมื่อเปรียบเทียบผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ของเกษตรกรที่
                   เข้าร่วมการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักและน  าหมักชีวภาพโครงการส่งเสริมการ
                   เกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อ าเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนในการปลูก
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60